กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูไวบะดาโอ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60 - L8426 - 1 -18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60 - L8426 - 1 -18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขเน้นการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องในระหว่างการตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงตามเกณฑ์การฝากครรภ์คุณภาพตลอดจนการดูแลขณะและหลังคลอดที่มีประสิทธิภาพอันจะช่วยส่งผลให้ทารกที่คลอดออกมามีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีน้ำหนักตามเกณฑ์ ลดความพิการตั้งแต่กำเนิด เพราะหากหญิงตั้งครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวการณ์ติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกเป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน โดยจากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไผ่ในปี ๒๕๕๙ พบว่า หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ คิดเป็นร้อย ละ ๙๓.๓๓ (เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ) อัตราหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๘๓ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๖๕) และอัตราหญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการพยาบาลเพียงร้อยละ ๑๐๐.๐๐ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๙๐) และได้เจาะเลือดตรวจพบว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๐ (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๐) ซึ่งถือว่ามีผลการดำเนินงานที่อยู่ในระดับดี แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการส่งเสริมองค์ความรู้ และการมีส่วนร่วมของคนในครอบครัวในหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะสามี จำเป็นจะต้องดำเนินการต่อเนื่องทุกปี เพราะถือว่ามีความสำคัญที่จะทำให้ระยะเวลาที่ตั้งครรภ์นั้นสามารถ ดูแล ปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดจากภาวะเสี่ยงสูง (High Risk ) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไผ่จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่ และเด็ก เพื่อหวังให้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการป้องกัน และร่วมกัน แก้ไขดูแลอย่างเป็นองค์รวมและมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อเฝ้าระวังและลดปัญหาภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลตนเอง ๒. หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังและลดปัญหาภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อเฝ้าระวังและลดปัญหาภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60 - L8426 - 1 -18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวซูไวบะดาโอ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด