กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวการีหม๊ะ จารู

ชื่อโครงการ โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 023/2565 เลขที่ข้อตกลง 023/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 023/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยอายุ 0 - 5 ปี อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมอง ซึ่งเติบโตถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่เป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการ ปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกเหนือจากการอยู่รอด ปลอดภัยโดยเฉพาะในระยะ2ปีแรกของชีวิตซึ่งเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดทั้งด้านร่างกายและสมอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านรวมทั้งการกระตุ้นให้มีการพัฒนาได้เต็มศักยภาพหากเด็กวัยนี้ได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์อย่างถูกต้อง โดยมีครอบครัวเป็นหลักเหมาะสมกับวัยแล้ว เด็กก็จะเติบโต เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ต่อไป ครอบครัวเป็นสถาบันแห่งแรกของสังคมที่เป็นจุดเริ่มต้นของทุกสิ่งทุกอย่างความสุขความรักความอบอุ่นจริยธรรม รวมทั้งสร้างเสริมการเจริญ เติบโตและพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ ของเด็กและพ่อแม่คือบุคคลสำคัญที่มีบทบาทดังกล่าว งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นแผนงานพื้นฐานของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้แต่มีคุณลักษณะและรูปแบบต่างๆ ออกไปตามกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อนั้นๆแต่ที่ได้กำหนดเป็นมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติคือการกำหนดอายุเกณฑ์การบริการที่เหมาะสมเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากวัคซีนอย่างเต็มที่และทันเวลา ดังนั้นในการวางแผนการดำเนินงานจึงต้องกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการให้บริการอย่างชัดเจน จึงเกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างแท้จริงจากการสำรวจกลุ่มเด็กอายุ 0 – 5 ปีในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา พบว่ามีจำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปี และผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี พบว่ามีอัตราความครอบคลุมเพียงร้อยละ 91.18ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ ( อัตราความคลอบคลุมเด็กอายุ 0 - 5 ปี > 95 ) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา ได้จัดทำโครงการพ่อแม่ห่วงใยใส่ใจฉีดวัคซีนเพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์ และส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตามการฉีดวัคซีน จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
  2. 2. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่รับวัคซีนตามเกณฑ์ และภาคีเครือข่าย
  2. กิจกรรม เยี่ยม / ติดตาม กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
  2. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
5.00 10.00

 

2 2. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
5.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานมีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 (2) 2. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่รับวัคซีนตามเกณฑ์ และภาคีเครือข่าย (2) กิจกรรม เยี่ยม / ติดตาม กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพ่อแม่ห่วงใย ใส่ใจวัคซีน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 023/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวการีหม๊ะ จารู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด