กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนศาลาเชือกร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
รหัสโครงการ 65-L2487-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม. ม.6 บ้านศาลาเชือก
วันที่อนุมัติ 7 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 14,175.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอีดาวาตี สาและ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 63 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตและเบาหวานและติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ปีงบประมาณ 2564 ของ อสม. หมู่ 6 บ้านศาลาเชือก พบอัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 21 คน คิดเป็น 1,057.93 ต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นจากปี 2563 (16 คน 832.90 ต่อแสนประชากร) และพบอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน จำนวน 10 คน คิดเป็น 503.78 ต่อแสนประชากร ลดลงจากปี 2563  (10 คน 520.56 ต่อแสนประชากร) การเฝ้าระวังความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องและการส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเองมีความจำเป็น เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและเพื่อให้เกิดความตระหนักที่ยั่งยืน ทั้งในด้านอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ซึ่งส่วนใหญ่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร ที่ต้องส่งเสริมการบริโภค ผัก ผลไม้ ลดละเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่น ลดปริมาณข้าว เลี่ยงน้ำบูดู ฯลฯ และใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารเป็นยา เมนูชูสุขภาพ ผักสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เพื่อการส่งเสริมและป้องกันโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
  1. กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
0.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง

1.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ต่อแสนประชากรลดลงจากปี 2564
2.อัตราการป่วยตายด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดลงจากปี 2564

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ก.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมการคัดกรองตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 0.00 14,175.00 -
1 ก.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 ตรวจความดันโลหิต (BP) ทุกๆ 1 เดือน และตรวจน้ำตาลในเลือด (FBS) ทุกๆ 3 เดือน 63.00 14,175.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสม
  2. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตลดลง
  3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 2565 00:00 น.