กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน ”

โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสัดกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาอีดา เจ๊ะมามะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน

ที่อยู่ โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสัดกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L7010-05-06 เลขที่ข้อตกลง 006/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสัดกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสัดกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัสโครงการ 65-L7010-05-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 164,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามหนังสือสั่งการจังหวัดปัตตานี ด่วนที่สุด ที่ ปน 0023.3/ว 9527 เรื่องการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 1    ปีการศึกษา ๒๕๖๕  ของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ลงวันที่ 28 เมษายน 2565 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕          ของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตาม ข้อ ๓ จัดหาอุปกรณ์การตรวจหาเชื้อ ATK ให้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในสังกัดให้เพียงพอ และพิจารณาสนับสนุนให้สถานศึกษาสังกัดอื่นที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ขอรับการสนับสนุนตามความเหมาะสม โดยคำนึงถึงฐานะการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น      และถือปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ ให้จัดหาอุปกรณ์การตรวจหาเชื้อ ATK สำหรับใช้โดยประชาชนทั่วไป (Home Use) โดยให้ประสานการจัดหากับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙)
    ในการนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีรายละเอียดจำนวนครู บุคลลากร และนักเรียนดังนี้

โรงเรียน ครู และบุคลากร นักเรียน รวม 1. โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านตะลุบัน 37 332 369 2. โรงเรียนเทศบาล 2 บ้านปากน้ำ(พิธานอุทิศ) 17 82 99 3. โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านปาตาตีมอ 18 176 194 4. โรงเรียนเทศบาล 4 บ้านอุเมะ 17 108 125 5. โรงเรียนเทศบาล 5 บ้านกาหยี 63 599 662 6. โรงเรียนเทศบาล 6 บ้านบางตาหยาด 40 266 306 7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ 6 40 46                 รวม 198 1,603 1801

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ ครู บุคลากร และนักเรียนของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน สามารถดูแล เฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. ขั้นตอนวางแผนงาน 1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการ ดำเนินงานโครงการ 1.2 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ 1.3 ติดต่อป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,563
กลุ่มวัยทำงาน 198
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครู บุคลากร และนักเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติเชื้อโควิด-๑๙ เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ ครู บุคลากร และนักเรียนของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน สามารถดูแล เฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90ของครู บุคลากร และนักเรียนของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน สามารถดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
1801.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1801
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,563
กลุ่มวัยทำงาน 198
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ครู บุคลากร และนักเรียนของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน สามารถดูแล เฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ขั้นตอนวางแผนงาน            1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการ        ดำเนินงานโครงการ            1.2 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ            1.3 ติดต่อป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองตะลุบัน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L7010-05-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาอีดา เจ๊ะมามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด