กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ


“ โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ ”

ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1.นายฑิฆัมพร โย๊ะฮาหมาด 2.นายนัสรีย์ สลีหมีน 3. นางสาวนัสรีน สาดอาหลี 4.นางสาวนุชญานา บากาโชติ 5. นางสาวนุรไลลา สะดีน

ชื่อโครงการ โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ

ที่อยู่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8407-02-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L8407-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบันสังคมไทยได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมจากต่างชาติเข้ามาเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ขัดต่อจารีตประเพณีของไทย  พร้อมทั้งสื่อในยุคโลกาภิวัฒน์ได้เข้ามามีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อสังคม เป็นเหตุให้เยาวชน ซึ่งเป็นผู้เสพสื่อส่วนใหญ่ได้รับวัฒนธรรมที่ผิดไปจากวัฒนธรรมเดิม ทำให้เยาวชนส่วนใหญ่มักมีนิสัยก้าวร้าว อยากลอง กระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองอย่างขาดความยั้งคิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเสพสารเสพติดชนิดต่างๆในช่วงวัยรุ่น  ปัญหาเหล่านี้นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น หากสังคมไทยไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ อาจส่งผลร้ายแรงต่อเยาวชนที่บริสุทธิ์ และสังคมไทยก็เป็นได้ จากสถานการณ์การใช้ยาเสพติดรายใหม่ พบว่ากลุ่มเยาวชนมีอัตราการเสพยาเสพติดมากขึ้นในทุกระดับ ในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล มีกิจกรรมการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจหรือการรณรงค์ป้องกันในกลุ่มเยาวชน กระตุ้นเยาวชน เรื่องสารเสพติด สามารถป้องกันและรักษาได้ สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรชุมชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องสารเสพติด แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม “ค่ายเยาวชนคน To Bee” ( 2วัน 1 คืน)
  2. กิจกรรมรณรงค์และนันทนาการ การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์
  3. กิจกรรมครอบครัวสีขาว
  4. กิจกรรมใครติดยายกมือขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. เด็กและเยาวชนเยาวชนมีความรู้ เข้าใจ เกี่ยวกับยาเสพติด ถูกต้องเพิ่มขึ้น จากก่อนการอบรมเป็นร้อยละ 80 2.เด็กและเยาวชนยาวชนเกิดเครือข่ายสร้างเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติดในชุมชนและศูนย์ตาดีกา มัสยิดดารุลนาอีม ต.ย่านซื่อ อ.ควนโดน จ.สตูล เพิ่มขึ้นจากก่อนการอบรมเป็นร้อยละ 80 3.เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมรณรงค์และให้คำปรึกษาการป้องกันยาเสพติดในชุมชน
ต.ย่านซื่อ อ.ควนโดน จ.สตูล ร้อยละ 50 ผลลัพธ์ เด็กและเยาวชนเยาวชนมีความรู้ เข้าใจ เกี่ยวกับยาเสพติด เกิดเครือข่ายสร้างเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติดในชุมชน เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมรณรงค์และให้คำปรึกษาการป้องกันยาเสพติดในชุมชน ชุมชนเกิดภูมิคุ้มกันทั้งทางด้านสุขภาพกาย สขภาพจิต และใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
60.00 40.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
10.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “ค่ายเยาวชนคน To Bee” ( 2วัน 1 คืน) (2) กิจกรรมรณรงค์และนันทนาการ การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ (3) กิจกรรมครอบครัวสีขาว (4) กิจกรรมใครติดยายกมือขึ้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสานพลัง ชมรม To Be Number One บ้านเขาน้อยเหนือ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8407-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายฑิฆัมพร โย๊ะฮาหมาด 2.นายนัสรีย์ สลีหมีน 3. นางสาวนัสรีน สาดอาหลี 4.นางสาวนุชญานา บากาโชติ 5. นางสาวนุรไลลา สะดีน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด