กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565 ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางชิดชนก พลเดช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก

ชื่อโครงการ โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L8429-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
    ปัจจุบันนี้ปัญหาการเกิดโรคติดต่อในชุมชนเกิดจากหลายปัจจัยเป็นตัวกำหนด ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ทำให้สุขภาพและความเป็นอยู่ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งกายภาพและสังคม หากขาดการใส่ใจ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและ การกำจัดขยะ รวมทั้งการกำจัดสัตว์หรือแมลงนำโรค เป็นต้น การละเลยการสร้างสุขนิสัยของตนเอง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว โรคเหล่านี้เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยของตนเองให้ถูกต้อง
    จากข้อมูลการป่วยด้วยโรคติดต่อที่สำคัญของจังหวัดตรัง ปี 2564 ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง โรคชิคุนกุนยาและโรค ไข้เลือดออกที่ผ่านมา พบว่า มีอัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 10-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุด คือ 60.56 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ กลุ่มอายุ 5-9 ปี (46.11), อายุ 15-24 ปี (35.63) อายุ 0-4 ปี (24.12) และ อายุ 25-34 ปี (19.67) ตามลำดับ ผู้ป่วยเพศชาย 6,643 ราย เพศหญิง 6,121 ราย คิดเป็นอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงเท่ากับ 1 : 0.92 นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่ออื่นๆเช่น โรคมือเท้าปาก ไข้หวัดใหญ่และวัณโรค เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าว นับว่ายังเป็นหาสาธารณสุข ที่ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญในการร่วมกันวางแผนและแก้ไขปัญหา ภายใต้กระบวนการแบบมีส่วนร่วม เพื่อลดปัญหาระบาดของโรคติดต่อที่พบบ่อยในชุมชน ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชนชนในระยะยาวได้     รพ.สต.บ้านไร่ออกได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการควบคุมโรค ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อ เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคติดต่อเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่ระบาดของโรคติดต่อ จึงจัดโครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีทีมเฝ้าระวังที่สามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อสำคัญในชุมชน
  3. เพื่อลดความเสี่ยงในการเดิดโรคติดต่อที่นำโดยแมลงที่สำคัญในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคพร้องทั้งวางแผนระบบเฝ้าระวังป้อกันโรคตดต่อ และกิจกรรมจัดทำกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำครัวเรือนและผู้นำชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 183
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรค มีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
  2. สภาพแวดล้อมในชุมชนส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
  3. ปัญหาโรคติดต่อในชุมชนลดลง
  4. ชุมชนมีทีมเฝ้าระวังที่มีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญสำคัญในชุมชนได้ทันทันท่วงที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคพร้องทั้งวางแผนระบบเฝ้าระวังป้อกันโรคตดต่อ และกิจกรรมจัดทำกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำครัวเรือนและผู้นำชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานคณะทำงานโครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และร่วมกันวางแผนการดำเนินโครงการและกำหนดมาตรการการดำเนินงานโครงการ
  2. พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคและวางแผนระบบการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคติดต่อ โดยการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรค พร้อมทั้งวางแผนระบบการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อของทีมควบคุมโรค แกนนำครัวเรือนและผู้นำชุมชน
  3. จัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
  4. จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
  5. สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชุนตระหนักและเห็นความสำคัญต่อการเกิดโรค มีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
  2. สภาพแวดล้อมในชุมชนส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
  3. ปัญหาโรคติดต่อในชุมชนลดลง
  4. ชุมชนมีทีมเฝ้าระวังที่มีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชนได้ทันท่วงที

 

183 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีทีมเฝ้าระวังที่สามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของหมู่บ้านมีระบบในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
100.00

 

2 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อสำคัญในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
80.00

 

3 เพื่อลดความเสี่ยงในการเดิดโรคติดต่อที่นำโดยแมลงที่สำคัญในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของหมู่บ้านมีค่า HI <10 และ CI=0
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 183
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 183
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีทีมเฝ้าระวังที่สามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อสำคัญในชุมชน (3) เพื่อลดความเสี่ยงในการเดิดโรคติดต่อที่นำโดยแมลงที่สำคัญในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคพร้องทั้งวางแผนระบบเฝ้าระวังป้อกันโรคตดต่อ และกิจกรรมจัดทำกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำครัวเรือนและผู้นำชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ประจำปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชิดชนก พลเดช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด