กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านไสต้นวา ปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคติดต่อ ปี 2565
รหัสโครงการ 65-L8429-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 บ้านไสต้นวา
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวระเบียบ มั่นซิ้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นางชิดชนก พลเดช
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.569505428,99.33580733place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2565 11 ก.ย. 2565 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้อยแรง น้อยกว่า SARซึ่งมีอัตราการตาย 10 % สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ในปี 2565 พบมีผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ จำนวน 285 ราย รักษาหาย จำนวน 275 ราย กำลังรักษา จำนวน 10 ราย และจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ระลอกใหม่ ส่งผลให้มีประชาชนติดเชื้อและเริ่มกระจายในวงกว้างมากขึ้น การป้องกันการติดเชื้อสามารถทำได้โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อ COVID-19 การสัมผัสกับผู้ป่วย หรือ ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ หากสงสัยว่าตนเองอาจจะได้รับเชื้อควรแยกสังเกตอาการอย่างน้อย 14 วัน ขณะแยกสังเกตอาการต้องงดการเดินทางหรืออยู่ในที่ที่มีคนหนาแน่น และควรปฏิบัติตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด รวมถึงมีการบูรณาการทุกภาคส่วน เครื่องมือ ทรัพยากรและงบประมาณเพื่อสนับสนุนบทบาทของภาคีเครือข่าย ร่วมกันขับเคลื่อนยกระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ประชาชนมีความรอบรู้ในการดูแลตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการต่างๆ ของหน่วยงานในการรับมือการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 เพราะการรับรู้และบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประเทศไทยผ่านพ้นวิกฤตครั้งนี้ได้
    ดังนั้น มาตการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในสถานที่ที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรคเป็นสิ่งสำคัญอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 4 และองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านใหม่ ปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคติดต่อ ปี ๒๕๖5 ขึ้น เพื่อให้ชุมชุนได้มีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน มีทีมเฝ้าระวังที่มีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชนได้ และลดความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้ทีมเฝ้าระวังมีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชนได้

หมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อได้ ร้อยละ 100

100.00
2 ๒.เพื่อให้ชุมชุนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน

ร้อยละ ๙๐ ของหมู่บ้าน มีค่า HI < ๑๐  และ CI=๐

90.00
3 ๓.เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน

ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน ร้อยละ 90

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ๑.เพื่อให้ทีมเฝ้าระวังมีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชนได้

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ๒.เพื่อให้ชุมชุนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ๓.เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 - 11 ก.ค. 65 อบรมพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคของสถานบริการ จัดประชุมแกนนำหมู่บ้าน ผู้นำและสถาน ศึกษาในการดำเนินงานเรื่องการป้องกันโรคระบาดในชุมชนและจัดซื่อวัสดุครุภัณฑ์ในการป้องกันและควบ คุมโรคติดต่อ 90.00 10,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เป็นหมู่บ้านต้นแบบเรื่องการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2565 16:55 น.