กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสมพร สวัสดิ์หิรัญ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1528-2-15 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน (2) เพื่อให้คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่) มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ (4) เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 (2) กิจกรรมเชิงรุกเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและเพื่อการหยุดระบาดของโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายพาหะของโรคโดยทันที /กิจกรรมการพ่นหมอกควันโดยอสม.หรือผู้นำชุมชน (3) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงไม่ได้ดำเนินการบางส่วนในกิจกรรมเชิงรุกในชุมชน การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ประชาชนประมาณร้อยละ 80 ยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียในหมู่บ้าน ในท่อระบายน้ำ น้ำในคูคลอง ซึ่งแหล่งน้ำเหล่านี้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญซึ่งไม่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน เพื่อเตรียมพร้อมและเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดระบาดรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก นับเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจังหวัดตรัง มีการระบาดติดต่อกันหลายปี บางปีมีรายงานผู้ป่วยหลายพันคน และมีความรุนแรงถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ถึงแม้ว่าปัจจุบันจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า แต่ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกก็ยังมีตลอด โดยมียุงลายเป็นพาหนะนำโรค มักจะบาดในช่วงฤดูฝน เนื่องจากแหล่งน้ำขังในภาชนะ ต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาพันธ์ยุงลาย ทำให้เพิ่มจำนวนยุงลายซึ่งเป็นพาหนะโรคได้อย่างดีการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเตรียมความพร้อมในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลายเพื่อลดพาหะนำโรค โดยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และสารเคมีกำจัดยุงลาย ในส่วนมาตรการป้องกันและกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย ก็ต้องมีมาตรการในการป้องกันโดยการประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชนให้เกิดความตระหนักในการป้องกันยุงกัด และการกำจัดยุงลายโดยการพ่นหมอกควันทั้งในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เกิดโรค เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจหลักของการพ่นหมอกควันที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และรวมถึงทุกองค์กร ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่       ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงได้จัดทำโครงการ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อเตรียมพร้อม และลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อโรคและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลเขาปูน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
  2. เพื่อให้คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่) มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์
  4. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565
  2. กิจกรรมเชิงรุกเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและเพื่อการหยุดระบาดของโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายพาหะของโรคโดยทันที /กิจกรรมการพ่นหมอกควันโดยอสม.หรือผู้นำชุมชน
  3. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 159
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ต.เขาปูนลดลง
2.คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่)ร้อยละ90มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดำเนินการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.ครัวเรือนที่พบผู้ป่วยและพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้รับการดำเนินการพ่นหมอกควันตามมาตรฐานการ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูนลดลง
4.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนทำให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินค่าตามมาตรฐาน (HI,CI)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเชิงรุกเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและเพื่อการหยุดระบาดของโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายพาหะของโรคโดยทันที /กิจกรรมการพ่นหมอกควันโดยอสม.หรือผู้นำชุมชน

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่คนพ่นหมอกควัน เกี่ยวกับหลักการพ่นอย่างถูกต้อง ถูกวิธีเพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมโรค  และควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดยการพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และเพื่อการควบคุมการระบาดของโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และเพื่อการควบคุมการระบาดของโรค

 

0 0

2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน

วันที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน
  2. กิจกรรมให้ความรู้แก่คนพ่นหมอกควัน เกี่ยวกับหลักการพ่นอย่างถูกต้อง ถูกวิธีเพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมโรค และควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดยการพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และเพื่อการควบคุมการระบาดของโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูนลดลง
  2. คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่)ร้อยละ90มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดำเนินการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ครัวเรือนที่พบผู้ป่วยและพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้รับการดำเนินการพ่นหมอกควันตามมาตรฐานการ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูนลดลง
  4. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนทำให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินค่าตามมาตรฐาน (HI,CI)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ โรคไข้เลือดออกมีสาเหตุมาจากการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกีมากัด ดังนั้นวิธีการป้องกันที่ดีที่สุด คือ การป้องกันการถูกยุงกัด และการป้องกันไม่ให้ยุงเกิด โดยมีวิธีดังต่อไปนี้ 1. การป้องกันยุงกัด ได้แก่ ทายากันยุง นอนในมุ้ง ให้เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาว 2. การจัดการภาชนะหรือสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น หมั่นเปลี่ยนน้ำในแจกันทุกสัปดาห์ ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำในภาชนะน้ำใช้ ปิดฝาภาชนะน้ำกิน/น้ำใช้ให้มิดชิด คว่ำภาชนะที่ไม่ใช้ไม่ให้น้ำขังได้ ปล่อยปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูงในอ่างบ้ว/ไม้น้ำ 3. เก็บบ้านให้ปลอดโปร่ง ไม่ให้มีมุมอับ เพื่อป้องกันยุงลายมาเกาะพัก 4. ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงลายในบ้าน การดูแลรักษา ในปัจจุบันไม่มียาฆ่าเชื้อไวรัสเดงกี เป็นการรักษาตามอาการ แพทย์ผู้รักษาตามอาการ แพทย์ผู้รักษาจะต้องเข้าใจธรรมชาติของโรค และให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด โดยผู้ป่วยในระยะแรกอาจยังไม่ต้องรับไว้ในโรงพยาบาล โดยแพทย์จะนัดตรวจตามอาการตั้งแต่วันที่ 3 ของอาการไข้เป็นต้นไป โดยติดตามทุกวันจนผู้ป่วยไม่มีไข้อย่างน้อย 24 ชั่วโมง โดยไม่ใช้ยาลดไข้ สำหรับหลักการดูแลรักษาเมื่อเป็นไข้เลือดออกเบื้องต้น ได้แก่ 1.พักผ่อนให้เพียงพอ 2.หากมีไข้ให้รับประทานยาพาราเซตามอล หรือเช็ดตัวเพื่อลดใช้ ห้ามรับประทานยาประเภท เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟ่น โดยเด็ดขาด เนื่องจากยาเหล่านี้อาจจะทำให้เกิดภาวะเลือดออกผิดปกติในทางเดินอาหาร เกิดภาวะตับ ไต วายเฉียบพลัน 3.ควรรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย และหลีกเลี่ยงอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีสีดำ แดง น้ำตาล รวมทั้งการรับประทานยาที่ไม่จำเป็น 4.การให้สารน้ำทดแทนในปริมาณที่เพียงพอและเหมาะสม โดยการดื่มน้ำเกลือแร่หรือน้ำผลไม้แทนน้ำเปล่า เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มีไข้สูง เบื่ออาหาร และอาเจียน ทำให้ขาดน้ำและเกลือแร่ 5.หากมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือน ว่าเข้าสู่ระยะวิกฤติ ให้รีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ ไข้ลดลงแต่อาการไม่ดีขึ้น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง กระสับกระส่าย เป็นต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
100.00 100.00

ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน

2 เพื่อให้คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่) มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
100.00 100.00

คนพ่นหมอกควันในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
100.00 100.00

ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน ได้ทันเหตุการณ์

4 เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
100.00 100.00

ติดป้ายไวนิลเพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกทั้ง 7 หมู่บ้าน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 159 159
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 159 159
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน (2) เพื่อให้คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่) มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ (4) เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 (2) กิจกรรมเชิงรุกเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและเพื่อการหยุดระบาดของโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายพาหะของโรคโดยทันที /กิจกรรมการพ่นหมอกควันโดยอสม.หรือผู้นำชุมชน (3) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงไม่ได้ดำเนินการบางส่วนในกิจกรรมเชิงรุกในชุมชน การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ประชาชนประมาณร้อยละ 80 ยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียในหมู่บ้าน ในท่อระบายน้ำ น้ำในคูคลอง ซึ่งแหล่งน้ำเหล่านี้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญซึ่งไม่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน เพื่อเตรียมพร้อมและเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดระบาดรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงไม่ได้ดำเนินการบางส่วนในกิจกรรมเชิงรุกในชุมชน การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ประชาชนประมาณร้อยละ 80 ยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียในหมู่บ้าน ในท่อระบายน้ำ น้ำในคูคลอง ซึ่งแหล่งน้ำเหล่านี้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญซึ่งไม่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน เพื่อเตรียมพร้อมและเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดระบาดรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565

รหัสโครงการ 65-L1528-2-15 รหัสสัญญา 13/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1528-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมพร สวัสดิ์หิรัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด