กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565 ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายโก๊บ สาแหละ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 15/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพหรือการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอเป็นกิจกรรมที่สำคัญซึ่งนอกจากจะช่วยให้ร่างกายเกิดความแข็งแรงแล้ว ยังมีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นให้มีคุณภาพอีกด้วย จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในท้องถิ่นจะต้องมีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ดังนั้น การส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเล่นกีฬา ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นสื่อการพัฒนาคนในชุมชนหมู่บ้านให้สามารถมีส่วนร่วม และส่งผลดีต่อการดำเนินนโยบายในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้การออกกำลังกายและเล่นกีฬายังช่วยสร้างเสริมความมีน้ำใจและความสามัคคีให้เกิดขึ้นในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้การส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาไม่ได้เป็นเรื่องในระดับท้องถิ่นเท่านั้น แต่ถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาลให้ความสำคัญรวมถึงรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งได้แถลงนโยบายในการยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข ใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาลักษณะนิสัยเยาวชนให้มีน้ำใจนักกีฬา มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท และมีความสามัคคี อีกทั้งยังพัฒนานักกีฬาให้มีศักยภาพสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติจนสร้างชื่อเสียงแก่ประเทศชาติสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน โดยการจัดการทุนมนุษย์ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยที่มีคุณภาพรวมถึงการบูรณาการหลายๆด้านเพื่อให้สังคมอยู่รวมกันอย่างมีความสุข คณะกรรมการมัสยิดนูรุลฮูดา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญต่อการส่งเสริมการเล่นกีฬาในเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด และนำนโยบายของรัฐบาล มาปฏิบัติในระดับท้องถิ่นด้านการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยท้องถิ่นเพื่อท้องถิ่น จึงมีความประสงค์ที่จะดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอล
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง มีความเข้าใจกฎกติกาสากลของกีฬาฟุตบอลและมีความรู้ในการป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นฟุตบอล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครเข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างสม่ำเสมอ
  2. เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง มีความเข้าใจกฎกติกาสากลของกีฬาฟุตบอล และมีความรู้ในการป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นฟุตบอล
  3. เด็กและเยาวชนให้ความสนใจในการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยขน์อย่างมีคุณค่า

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้งสิ้น 40 คน เป็นเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 7-20 ปี เป็นเพศชายจำนวน 38 คน และเพศหญิงจำนวน 2 คน

 

40 0

2. กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล

วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 16:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล ดำเนินการระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม – 18 กันยายน 2565 เวลา 16.30 -18.30 น. เป็นระยะเวลารวมทั้งสิ้น 60 วัน ฝึกซ้อม ณ สนามฟุตบอล ม.2 บ้านท่าโพธิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบว่าเด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพลานามัยที่ดีขึ้น จากการมีวินัยในการออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ โดยกลุ่มเป้าหมายมีพัฒนาการทางด้านร่างกายเพิ่มขึ้นดังนี้         ๑.๑.๑ เด็กและเยาวชนแต่ละรุ่นอายุมีสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อดีขึ้น ร้อยละ 100 (40คน/40 คน) โดยวัดผลจากการทดสอบสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแบบ(STEP TEST)ซึ่งทดสอบจากการจับเวลาเป็นนาที  ก่อนทำการฝึกและหลังจากการฝึกเมื่อเสร็จสิ้นโครงการฯ ๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนแต่ละรุ่นอายุมีสมรรถภาพความแข็งแรงของร่างกายดีขึ้น ร้อยละ 100 (40คน/40 คน)  โดยวัดผลจากการทดสอบสมรรถภาพความแข็งแรงของร่างกายโดยการวิ่ง 1 กิโลเมตรซึ่งทดสอบจากการจับเวลาเป็นนาที ก่อนทำการฝึกและหลังจากการฝึกเมื่อเสร็จสิ้นโครงการฯ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

พบว่าเด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพลานามัยที่ดีขึ้น จากการมีวินัยในการออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ โดยกลุ่มเป้าหมายมีพัฒนาการทางด้านร่างกายเพิ่มขึ้นดังนี้

  ๑.๑.๑ เด็กและเยาวชนแต่ละรุ่นอายุมีสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อดีขึ้น ร้อยละ 100 (40คน/40 คน) โดยวัดผลจากการทดสอบสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแบบ(STEP TEST)ซึ่งทดสอบจากการจับเวลาเป็นนาที ก่อนทำการฝึกและหลังจากการฝึกเมื่อเสร็จสิ้นโครงการฯ

๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนแต่ละรุ่นอายุมีสมรรถภาพความแข็งแรงของร่างกายดีขึ้น ร้อยละ 100 (40คน/40 คน) โดยวัดผลจากการทดสอบสมรรถภาพความแข็งแรงของร่างกายโดยการวิ่ง 1 กิโลเมตรซึ่งทดสอบจากการจับเวลาเป็นนาที ก่อนทำการฝึกและหลังจากการฝึกเมื่อเสร็จสิ้นโครงการฯ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีพัฒนาการทางด้านร่างกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00 100.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง มีความเข้าใจกฎกติกาสากลของกีฬาฟุตบอลและมีความรู้ในการป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นฟุตบอล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และความสามารถในการเล่นฟุตบอลเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอล (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการเล่นฟุตบอลที่ถูกต้อง มีความเข้าใจกฎกติกาสากลของกีฬาฟุตบอลและมีความรู้ในการป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นฟุตบอล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครเข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชนตำบลท่าโพธิ์ ปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโก๊บ สาแหละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด