กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวตอยีบะฮ์ มูเซะ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8411-01-10 เลขที่ข้อตกลง 15/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L8411-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine) เป็นวิถีการดูแลสุขภาพของคนไทยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีไทย มีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบอาหาร และยา ใช้ในการอบ การประคบ การนวด ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่าการแพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้ เนื่องจากเป็นระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน มีค่าใช้จ่ายสูง ต้องพึ่งพิงเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์จากต่างประเทศ ซึ่งเป็นข้อจำกัดที่สำคัญที่ทำให้การแพทย์แผนปัจจุบันไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (ดารณี อ่อนชมจันทร์, 2548) จากสภาพปัจจุบันและปัญหาผดุงครรภ์ไทยเน้นไปที่การดูแลมารดาในระยะหลังคลอดโดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนแรก เนื่องจากกระบวนการตั้งครรภ์และกระบวนการคลอดทำให้มารดาหลังคลอดบุตรใหม่ๆ มีปัญหาสุขภาพและจำเป็นต้องได้รับกระบวนการฟื้นฟูส่วนใหญ่ พบว่ามารดาหลังคลอดมักเผชิญกับปัญหาต่างๆดังต่อไปนี้ อาการอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย เนื่องจากมีการเสียเลือด เสียเหงื่อ และเสียแรงมากในขณะคลอด และมีของเสียตกค้างหลังการคลอด สามารถป้องกันและแก้ไขได้โดยการได้รับการบริบาลฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดเพื่อลดความเมื่อยล้า อบไอน้ำสมุนไพร ทับหม้อเกลือ ได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด ,การประคบสมุนไพร,ทับหม้อเกลือ
ดังนั้นเพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น อันจะส่งผลให้หญิงหลังคลอดเกิดความอบอุ่น ช่วยส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตมารดาหลังคลอด โดยให้ความตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านการแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาบุคลากร อสม. และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับอสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวดไทย ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย 2.มารดาหลังคลอด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด สามารถทำงานได้เป็นปกติ หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาบุคลากร อสม. และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับอสม.

วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำแผนงาน/โครงการ 2.เสนอโครงการเพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติ 3.ประชุมคณะทำงาน
4.ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการโครงการฯ 5.ติดตามประเมินผล 6.สรุปโครงการ/ประเมินผลการเข้าค่ายฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวดไทย ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย 2.มารดาหลังคลอด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด สามารถทำงานได้เป็นปกติ หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านการแพทย์แผนไทย (2) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาบุคลากร อสม. และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับอสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8411-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวตอยีบะฮ์ มูเซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด