กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองความดันโลหิต / เจาะเบาหวาน แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 300 คน27 มิถุนายน 2565
27
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางปู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองความดันโลหิต / เจาะเบาหวาน แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 300 คน - ค่าอาหารว่าง 300 คน× 25 บาท × 1 มื้อ เป็นเงิน    7,500.-  บาท - ป้ายไวนิล 1 ม. * 2 ม. เป็นเงิน      300.-  บาท รวมเป็นเงิน  7,800.-  บาท (เจ็ดพันแปดร้อยบาทถ้วน-)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตน และเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
    1. ประชาชนมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตัวเพื่อห่างไกลจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    2. ชุมชนทราบสภาวะสุขภาพประชาชน
กิจกรรมที่ 1 จัดหาอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการฯ24 มิถุนายน 2565
24
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางปู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดประชุม ชี้แจง กลวิธีการดำเนินงานตามโครงการ  กับคณะทำงานให้ทราบ 2. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับตรวจน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิตสูง และไขมัน 3. ตรวจสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยการวัดดัชนีมวลกาย  (BMI) และเส้นรอบเอว ตรวจคัดกรองภาวะน้ำตาลในเลือด  ตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจคัดกรองไขมัน

4.ให้ความรู้เกี่ยวกับการลดและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด 5. ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล 6. สรุปรายงานผลเป็นรายบุคคลให้ผู้รับบริการทราบ 7. นำผลการตรวจแต่ละราย เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาในชุมชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตน และเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
    1. ประชาชนมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตัวเพื่อห่างไกลจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    2. ชุมชนทราบสภาวะสุขภาพประชาชน