กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮารีดา ยีมะยี

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2514-1-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2514-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเพิ่มขึ้นประชากรที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์หรือเรียกว่าอ้วนและอายุที่มากขึ้น นำมาซึ่งการเกิดโรคไม่ ติดต่อเรื้อรังเช่น โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง คาดการณ์ว่าความชุก ของโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปีพ.ศ.2584 ซึ่งโรคเบาหวานที่ดูแลรักษาได้ไม่ดีอาจทำ ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผล เสียต่อร่างกาย เช่น โรคไต และการถูกตัดเท้าหรือขา โรคติดต่อเคยเป็น สาเหตุหลักของการเสียชีวิต และทุพพลภาพทั่วโลก แต่เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) กำลัง จะกลายเป็น สาเหตุหลัก มากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมดใน ประเทศไทย มีสาเหตุมาจากโรคไม่ ติดต่อเรื้อรังซึ่ง รวมถึงโรคเบาหวานในปี พ.ศ.2564 พบว่ามีการเสียชีวิตที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวานเป็น จำนวนประมาณ 76,000 รายหรือมากกว่า 200 รายใน แต่ละวัน ในประเทศไทยคาดว่ามีเพียงร้อยละ 57 ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานได้รับการวินิจฉัย ซึ่งส่วนใหญ่ ของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจะได้รับการรักษามีเพียงร้อยละ 35.6 ของผู้ที่ได้รับการรักษา
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น
จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่า ทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเป็นกลุ่มโรคที่มี ปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ขึ้นไปของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 1,645 คน พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 7.29 และคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ขึ้นไปในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 1,310 คน พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 8.39 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อลดอัตราป่วยด้วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคเบาหวานรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคความเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง ๒.อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่
5.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยโรคเบาหวานรายใหม่
ตัวชี้วัด : 2.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
2.40

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (2) เพื่อลดอัตราการป่วยโรคเบาหวานรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคความเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2514-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮารีดา ยีมะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด