กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย


“ โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา ”

ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางกนกพิชญ์ น้ำหวาน

ชื่อโครงการ โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3020-02-14 เลขที่ข้อตกลง 20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3020-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ยังมีอยู่ ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก ทราบกันดีว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย เป็นเหตุให้รัฐบาลไทยต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร นอกจากนี้ รัฐลาลไทยได้ออกพระราชกำหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยวางมาตรการที่พึงปฏิบัติสำหรับบุคคลบางประเภท ซึ่งกำหนดให้เป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด-19 ได้ง่าย อยู่ในเคหะสถานหรือบริเวณสถานที่พักของตนเองเพื่อป้องกันตนเองจากการติดเชื้อจากสภาพแวดล้อมภายนอก จากสถานการณ์การระบาดในตอนนี้ สายพันธ์ุเดลต้า/โอมิครอน จะกลายเป็นสายพันธ์ุหลักในระบาดอย่างรวดเร็วและคงระบาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้พิจารณาเปิดเรียนในสถานศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 มีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการตรวจค้นหาตรวจโควิดเชิงรุก เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคอย่างทันท่วงที
      ในการนี้จึงต้องปรับกระบวนการโดยจัดให้มีกิจกรรมคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้ขายอาหารผู้ให้บริการรถรับ-ส่งนักเรียนเป็นประจำ เข้าสู้ระบบการคัดกรองตรวจหาเชื้อโควิด-19 และเพื่อให้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลและครอบครัว รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและครูบุคลากรทางการศึกษาและครอบครัวได้ปฏิบัติตนตามแนวทางปฏิบัติด้านสุขอนามัยที่กรมควบคุมโรคได้จึงจัดให้มีโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน เพิ่อจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ผู้ให้บริการรับ-ส่งนักเรียนเป็นประจำได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และเฝ้าระวังติดตามรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
2.สามารถควบคุมป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ในโรงเรียนและชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.โรงเรียนได้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพร้อมวางแผนรับมือกับผู้ป่วยโควิด19 ที่ตรวจพบ
2.โรงเรียนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้ประสานระบบส่งต่อการรักษา เช่น ศูนย์พักคอยรอเตียงเพื่อรองรับผู้ป่วย
3.ประชุมทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บุคลากร ผู้นำนักเรียน ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหาร ผู้บริการรถรับส่งนักเรียน อสม.หรือแกนนำชุมชน เพื่อแสดงความเห็นความต้องการในการกำหนดมาตรการคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit
4.จัดทำแผนวิธีการดำเนินงานโครงการและเขียนโครงการ เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
5.คัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในโรงเรียน
6.จัดทำทะเบียนการตรวจ โดยระบุชื่อ สกุล เลขบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ และมีการติดตาม หรือให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ Antigen Test Kit สังเกตอาการตนเองหลังการตรวจอีก 3-5 วัน หากมีอาการไข้ ไอ ความผิดปกติทางสุขภาพให้รีบแจ้งผู้ประสานงานที่โรงเรียน อสม. รพ.สต. เพื่อประเมินอาการ โดยอาจมีการตรวจด้วย Antigen Test Kit ซ้ำ
7.เมื่อมีผลตรวจจากกการคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit แล้วให้แจ้งผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.สรุปผลการดำเนินงานโครงการนำส่งคณะกรรมการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ประกอบอาหาร ผู้ให้บริการรถรับ-ส่งนักเรียนได้รับการคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด ATK และเฝ้าระวังติดตามรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
2.สามารถควบคุมและป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ในสถานศึกษาได้

 

114 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน เพิ่อจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการคัดกรองเชื้อโควิดครบทุกคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 123
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน เพิ่อจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigำn Test Kit ในสถานศึกษา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3020-02-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกนกพิชญ์ น้ำหวาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด