กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรเพ็ญ สักพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5166-3-05 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5166-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะนับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากร ถ้าไม่มีการกำจัดที่ถูกต้องแล้ว จะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชนทั้งทางตรง    และทางอ้อม ทั้งนี้เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงที่เป็นพาหะของโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง เป็นที่ซ่อนตัวของหนูและสัตว์อื่นๆ ขยะมูลฝอยทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดมลภาวะและสร้างความรำคาญใจให้แก่คนในชุมชน ขยะมูลฝอยที่ทิ้งเกลื่อนกลาดส่งผลต่อสภาพแวดล้อม เมื่อถูกลมพัดกระจัดกระจายไปตามที่ต่างๆ ทำให้พื้นที่บริเวณนั้นสกปรก ขาดความสวยงาม เป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เมื่อลงลงสู่แหล่งน้ำทำให้ท่อน้ำอุดตัน กีดขวางทางระบายน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย สารเคมีจากขยะบางชนิด เช่น สารปรอท สารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำ ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชน นอกจากนี้ขยะยังสร้างมลพิษทางอากาศด้วย เช่น    ฝุ่นละออง เขม่าควันจากการเผาขยะ ถ้าฝังกลบไม่ถูกวิธีก็จะส่งผลกระทบทำให้เกิดสารตกค้างในดิน เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว หน่วยงานต่างๆได้ตระหนักปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ จึงได้จัดทำโครงการขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจให้คนในชุมชนจัดการขยะให้ถูกต้อง ลดจำนวนขยะลง และนำขยะที่เกิดขึ้นกลับมาใช้ใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้ขยะในครัวเรือนลดลง ซึ่งจะส่งผลให้ขยะในชุมชนลดลงด้วยเป็นการลดภาระ  ด้านงบประมาณการจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสร้างวินัยให้แก่คนในชุมชนในการจัดการขยะตามหลัก 3 RS Reduce Reuse และ Recycle) โรงเรียนบ้านต้นส้านได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างชุมชนที่ปลอดขยะ จึงได้จัดทำโครงการเรียนรู้เรื่องการจัดการขยะในครอบครัวขึ้น ทั้งนี้เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่สมาชิกในครอบครัวให้จัดการขยะ ให้ถูกต้องตามหลักการจัดการขยะ 3 RS มาใช้พื้นที่เพื่อเป็นแนวทางการจัดการขยะต้นทางและเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ “ขยะอินทรีย์ หรือ ขยะเปียกในครัวเรือน” ประดิษฐ์ของเล่นของใช้ ของตกแต่งจากเศษวัสดุเหลือใช้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีความรู้เรื่องปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
    2. สามารถคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครอบครัว อย่างถูกลักษณะ
    3. สามารถนำขยะมาประดับเป็นของใช้ของเล่นได้
    4. ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการขยะในครอบครัวปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5166-3-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพรเพ็ญ สักพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด