กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพ การแก้ไขปัญหา สุขภาพผู้สูงอายุและการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในชุมชนตำบลตลิ่งชัน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพ การแก้ไขปัญหา สุขภาพผู้สูงอายุและการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในชุมชนตำบลตลิ่งชัน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตลิ่งชัน
วันที่อนุมัติ 12 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 28 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 128,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจะอาเรน บินหมัด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 1171 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบล
2.00
2 ร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
54.24
3 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
45.65
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)
41.56
5 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบล

จำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบลเพิ่มขึ้น

2.00 5.00
2 เพิ่มร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

ร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลเพิ่มขึ้น

54.24 75.00
3 เพิ่มร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)เพิ่มขึ้น

41.56 55.00
4 เพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)เพิ่มขึ้น

2.00 15.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 128,050.00 1 127,310.00
11 ก.ค. 65 เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพผู้สูงอายุสู่ชุมชน 0 750.00 -
19 ก.ค. 65 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ 0 10,400.00 -
22 - 23 ก.ค. 65 การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แผนสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว 0 107,000.00 -
29 ก.ค. 65 ประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุและ ผู้มีภาวะพึ่งพิงจากกองทุนตำบล 0 9,900.00 127,310.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ มีระบบดูแลแก้ไขปัญหาและระบบการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.ค. 2565 00:00 น.