กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพ การแก้ไขปัญหา สุขภาพผู้สูงอายุและการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในชุมชนตำบลตลิ่งชัน

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบลเพิ่มขึ้น
2.00 5.00

 

2 เพิ่มร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลเพิ่มขึ้น
54.24 75.00

 

3 เพิ่มร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)เพิ่มขึ้น
41.56 55.00

 

4 เพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)เพิ่มขึ้น
2.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1231
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,171
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 5
ผู้นำชุมชน 5
อสม. 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุผ่านเวปไซด์กองทุนตำบล (2) เพิ่มร้อยละของครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (3) เพิ่มร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) (4) เพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพผู้สูงอายุสู่ชุมชน (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ (3) การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แผนสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (4) ประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุและ ผู้มีภาวะพึ่งพิงจากกองทุนตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh