กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ประโยชน์บริโภคผักและสมุนไพรพื้นบ้าน
รหัสโครงการ 65-L5252-02-
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 3
วันที่อนุมัติ 28 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รัตนาวลี หง๊ะหลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.567,100.516place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาล          ที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วย จากโรคเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้นได้แก่ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง การรักษาผู้ป่วยที่โรคดังกล่าวถือเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจาก ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีสาเหตุสำคัญมาจากการไม่บริโภคผักให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ ครึ่งกิโลกรัมต่อวัน หรืออาจมีการบริโภคผักที่มีสารเคมีปนเปื้อนทำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง และจากการสำรวจกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงปี 2564 พบว่ามีการบริโภคผักไม่ถึงครึ่งกิโลกรัมต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 80 เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักและเน้นผักพื้นบ้าน ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลาจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้ประโยชน์การบริโภคผักและสมุนไพรพื้นบ้านขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ อสม.และประชาชนมีความรู้ประโยชน์ของการบริโภคผัก และการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ประโยชน์ของการบริโภคผัก และการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติและถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลใกล้เคียง

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ขั้นเตรียมการ(1 ก.ค. 2565-22 ก.ค. 2565) 0.00      
2 ขั้นดำเนินการ(1 ส.ค. 2565-31 ส.ค. 2565) 0.00      
รวม 0.00
1 ขั้นเตรียมการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 0 0.00
29 มิ.ย. 65 - 22 ก.ค. 65 ประชุมระดมความคิดเห็น วิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชนกับอสม. กรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชนและตัวแทนชาวบ้าน 0 0.00 -
22 - 31 ก.ค. 65 ประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการสู่ชุมชน 0 0.00 -
2 ขั้นดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 0 0.00
1 - 31 ส.ค. 65 จัดอบรมให้ความรู้ประโยชน์ของการบริโภคผัก และการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ 0 0.00 -
1 - 31 ส.ค. 65 แจกเมล็ดพันธุ์ผักและดินสำหรับเพาะปลูก 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ประโยชน์ของการบริโภคผัก และการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติและถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลใกล้เคียง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2565 11:21 น.