กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมมือ ร่วมใจ ขจัดภัยจากยุง ตำบลเกาะสะท้อน
รหัสโครงการ 65-L2481-1-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.เกาะสะท้อน
วันที่อนุมัติ 20 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2565
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะอารารี เว๊าะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.22,102.059place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปี 2563-2565 ตำบลเกาะสะท้อน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไข้เด๋งกี่ ไข้ชิคุนกุนยาเลย สาเหตุหนึ่งก็มาจากสถานการณ์ การระบาด ของโรคโคโคน่าไวรัส 2019 ที่รัฐบาลกำจัดการเดินทางของประชาชน ทำให้การเดินทางน้อยลงการเเพร่กระจายของโรคติดต่อก็น้อยลงไปด้วย แต่ในปี 2565 นี้ การเปิดประเทศ การเดินทางของประชาชนจะมีมากขึ้น ระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก ที่จะมีการระบาดทุกๆ 2 ปี ปีพ.ศ.2565 นี้ก็จะเป็นปีที่อาจมีการระบาดของโรคได้ และในตำบลอื่นๆที่อยู่รอบๆข้างก็ยังมีการระบาดของโรคอยู่ทุกปี ประชากรในตำบลเกาะสะท้อนก็มีการเดินทางไปหาญาตินอกพื้นที่ หลายครั้งที่ประชาชน ไปรับเชื้อจากที่อื่น และกลับม่ป่วยที่บ้าน การที่ประชาชนไปมาหาสู่กันอย่างต่อเนื่อง โรคไข้เลือดออกจึงยังดป็นปัญหาหนึ่งของประชาชน การป้องกันและควบคุมโรคที่ได้ผลและมี ประสิทธิภาพนั้น จำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกๆฝ่าย ทั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกัน ป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคตลอดเวลา เช่นการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ไม่ให้มีลูกน้ำยุง สุ่มสำรวจความชุกลูกน้ำยุง ใส่ทรายฆ่าลูกน้ำยุง รณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตื่นเต้นในกำจัดขยะ
  เพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคอื่นๆที่ติดต่อโดยการมียุงเป็นพาหะ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในพื้นที่ หมู่ 2 3 5 6 9 ตำบลเกาะสะท้อน/ทุกชุมชน

1.อัตราป่วยด้วยกลุ่มโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อประชาชกแสนคน 2.มีกิจกรรมสำรวจลูกทุกบ้านอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง/หมู่บ้าน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 20,000.00 0 0.00
1 เม.ย. 65 - 30 ส.ค. 65 โครงการร่วมมือ ร่วมใจ ขจัดภัยจากยุง ตำบลเกาะสะท้อน 50 20,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชน องค์กรในชุมชน ในการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ อย่างต่อเนื่องและสมำเสมอ 2.อัตราป่วยด้วยโรคไขเลือดออกในพื้นที่ไม่เกินมาตรฐาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2565 12:00 น.