กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรับการประเมินติดตามผลการปรับเปลี่ยนหลังจากอบรม 1 3 6 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จได้รับการส่งต่อรับการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่องต่อไป
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรับการประเมินติดตามผลการปรับเปลี่ยนหลังจากอบรม 1 3 6 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จได้รับการส่งต่อรับการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่องต่อไป (4) เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมในโครงการฯ  แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่ (2) จัดทำแบบฟอร์มคัดกรองตามบัญชีรายชื่อและที่อยู่ ของประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (3) อาสาสมัครสาธารสุขประจะหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ให้บริการตรวจคัดกรอง โดยการวัดความดันโลหิต เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้ว (4) เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ คืนข้อมูลให้แก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (5) อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (6) สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ (7) รณรงค์คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป (8) อบรมแกนนำด้านการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) อบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (10) กิจกรรมประชุมติดตาม ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 ครั้ง หลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh