กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด


“ โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน ”

ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจำเนียร โคตรโสภา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน

ที่อยู่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5267-02-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5267-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดี เป็นความปรารถนาของคนทุนคน เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความสุข และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในที่สุด เพราะคำว่า สุขภาพ มีความหมาย คือ สภาวะแห่งความ สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรค หรือทุพพลภาพเท่านั้น (องค์การอนามัยโลก /2491 จากคำจำกัดความนี้ แสดงให้เห็นว่าภาวะของความไม่มีโรค หรือไม่บกพร่องยังไม่ถือว่ามีสุขภาพ แต่สุขภาพมีความหมายเชิงบวกที่เน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจและสังคม นั่นคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพทางสังคมครบทุกด้าน ซึ่งการสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยแนวทางหลายแนวทางด้วยกัน และที่ได้รับการยอมรับในแนวทางปฏิบัติตามหลักวิชาการคือ การมีสุขภาพที่ดี ตามหลัก 6 อ.สร้างสุขภาพคนไทยซึ่งประกอบด้วย อ.ที่1 อาหาร อ.ที่ 2 ออกกำลังกาย อ.ที่ 3 อารมณ์ อ.ที่ 4 อนามัยสิ่งแวดล้อม อ.ที่5 อโรคยา และอ.ที่ 6 อบายมุข ซึ่งจะต้องปฏิบัติควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการออกกำลังกาย ที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งการ ออกกำลังกายก็จะมีหลากหลายรูปแบบและวิธีการแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับความถนัด ความสนใจ และความพร้อมตลอดจนประโยชน์ที่ได้รับของแต่ละบุคคลอีกด้วย ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิด ความเครียดและเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ขึ้นมากมาย หรือในวัยผู้สูงอายุก็จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้ดังนั้น การออกกำลังกายจึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถผ่อนคลายความตึงเครียดได้ในทุกเพศทุกวัย ซึ่งกลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นแกนนำสำคัญที่ปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมสุขภาพประชาชนในหมู่บ้านร่วมกับกองทุนสุขภาพตำบลป่าขาด ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวนี้ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ด้านการ สร้างเสริมสุขภาพ ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการออกกกำลังกายและจัดกิจกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพ โดยการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ นอกจากนั้นยังเป็นการส่งเสริมสร้าง การมีส่วนร่วมและกระตุ้นให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการออกกำลังกายที่จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมความสามัคคีในกลุ่มประชาชนและเครือข่ายสุชภาพที่เกี่ยวข้อง
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  3. 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องถูกวิธีและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์การออกกำลังกาย 2.ประชาชนมีความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมความสามัคคีในกลุ่มประชาชนและเครือข่ายสุชภาพที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องถูกวิธีและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมความสามัคคีในกลุ่มประชาชนและเครือข่ายสุชภาพที่เกี่ยวข้อง (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องถูกวิธีและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5267-02-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจำเนียร โคตรโสภา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด