กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนีตา สนิทกันภัย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2515-1-6 เลขที่ข้อตกลง 07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2515-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กที่มีภาวะสุขภาพที่ดีถือเป็นรากฐานแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี และพร้อมที่จะเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพและเป็นทรัพยากรที่สำคัญของชาติในอนาคต เด็กทุกคนจึงสมควรและจำเป็นที่จะต้องได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องเหมาะสมในทุกๆด้าน เพื่อให้เด็กมีความสามารถในการสร้างสรรค์ประโยชน์ต่างๆได้อย่างเต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปฐมวัย นับตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ ๖ ปี ถือได้ว่าเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกๆด้านของมนุษย์ ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย โดยส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖ เดือน รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น ๆ ด้วยการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน เพราะน้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารกแรกเกิด โดยมีคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของทารก เพราะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในขวบปีแรกจะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ร่วมกับการพัฒนาทางด้านอารมณ์ เด็กจะมีความสุข มั่นใจในสิ่งแวดล้อม นำไปสู่ความรู้สึกไว้วางใจในบุคคล ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยต่อไป จากการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการตำบลนมแม่ที่ผ่านมา ได้เน้นกิจกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว โดยคาดหวังว่าเด็กที่เลี้ยงดูด้วยความรัก ความอบอุ่น จะหล่อหลอมให้เด็กเติบโตขึ้น แข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดีมีความสุข สำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ในปี 2559 สำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พบว่า มีทารกไทยเพียงร้อยละ 40 ได้กินนมแม่ภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด และเพียงร้อยละ 23 ที่ได้กินนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกของชีวิต ยิ่งไปกว่านั้น มีทารกเพียงร้อยละ 13 ที่ได้กินนมแม่ต่อเนื่องถึง 2 ปี โดยกระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้าต้องเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนให้ได้ 50 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2568 โดยการทำเรื่องปกป้อง สนับสนุน ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน และผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านมะนังปันยัง ปัจจุบันอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนในปี ๒๔๕๙ อยู่ร้อยละ ๓๗.๖ ซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมายตามองค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ที่ร้อยละ ๓๕ แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในทารกอายุน้อยกว่า ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ทั้งนี้เป็นเพราะการให้น้ำเปล่าหรืออาหารอื่นๆร่วมกับนมแม่เป็นพฤติกรรมของการเลี้ยงดูเด็กที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น การสร้างความเชื่อว่านมแม่อย่างเดียว  ๖ เดือนเพียงพอสำหรับทารก จำเป็นที่จะต้องหาวิธีการสื่อสารที่เข้าถึงกลุ่มต่างๆมากขึ้น รวมทั้งความร่วมมือจากบุคลาการทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกระดับที่เกี่ยวข้อง จากการดำเนินงานเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง ปี พ.ศ.2565 ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง เพื่อให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้นบรรลุตามเป้าหมาย จึงมีแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะในการดูแลคุณภาพสุขภาพประชากรแม่และเด็กสู่ความยั่งยืน โดยการพัฒนาการดำเนินงานตามกระบวนการคุณภาพ การจัดระบบบริการมาตรฐานงานอนามัยและเด็กในพื้นที่ตามมาตรฐาน เชื่อมโยงสู่ครัวเรือน ชุมชน และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง ได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดและแกนนำสุขภาพในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ มีความพร้อมในการพัฒนาและขับเคลื่อนทางสังคม ในการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ให้เป็นรากฐานการพัฒนา ตลอดจนประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  2. ส่งเสริมให้ความรู้ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดและแกนนำสุขภาพเข้าใจถึงประโยชน์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  2. ทารกได้รับนมแม่ต่อเนื่องไปจนอายุ 2 ปี หรือมากกว่าพร้อมกับการได้รับอาหารเสริมตามวัยที่ถูกต้อง ๓.เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายแกนนำสุขภาพในชุมชนในการดูแลช่วยเหลือส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมให้ความรู้ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้แก่คุณแม่หลังคลอดแลแกนนำสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทารกได้รับนมแม่ต่อเนี่ยงจนอายุ 2 ปี หรือได่รับได้รับอาหารเสริมตามวัยที่ถูหต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) ส่งเสริมให้ความรู้ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2515-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสนีตา สนิทกันภัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด