โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจุฬาพร นาคสังข์ทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง
กรกฎาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ)
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3344-3-26 เลขที่ข้อตกลง 17/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มิถุนายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3344-3-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มิถุนายน 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยหรือช่วงขวบปีแรกๆ ของชีวิตเป็นช่วงเวลาของการพัฒนาที่สำคัญที่สุดในชีวิตของเด็ก โดยเป็นช่วงวัยที่เด็กจะมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางสมอง การใช้ภาษา ทักษะทางสังคม ทางอารมณ์ และการเคลื่อนไหว เป็นช่วงวัยของการสร้างรากฐานสำหรับการเติบโตและการเรียนรู้ต่อไปในชีวิต ดังนั้น การพัฒนาและการลงทุน ในเด็กปฐมวัย จึงเป็นสิ่งสำคัญอันดับต้นๆ ของทุกครอบครัวและประเทศชาติ เพราะเป็นโอกาสทองครั้งเดียวใน ชีวิตเด็ก การพัฒนาเด็กปฐมวัยจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ทั้งจากครอบครัว สถานพยาบาล สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สถานศึกษา ชุมชน สังคม ภาคเอกชน สื่อ และบริการภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ และสติปัญญาที่สมกับวัย เกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับศักยภาพของแต่ละบุคคลและความต้องการจำเป็นพิเศษ พร้อมทั้งสร้างคุณลักษณะให้เด็กปฐมวัย มีอุปนิสัยใฝ่ดี มีคุณธรรม มีวินัย ใฝ่รู้ มีความคิด สร้างสรรค์ และสามารถซึมซับ สุนทรียะและวัฒนธรรมที่หลากหลายเคารพคุณค่าของบุคคลอื่น มีจิตวิญญาณของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเสมอภาค มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
การดูแลที่เหมาะสม พบว่า เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มการสูงดีสมส่วนและระดับ IQ ดีขึ้น แม้ว่าการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วนมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ยังต่ำกว่า เป้าหมาย โดยเด็กสูงดีสมส่วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47.0 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 58.95 ในปี 2562 แต่ยังถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ำ นอกจากนี้ พบว่า เด็กไทยวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ร้อยละ 25.92 (ข้อมูล ณ กันยายน 2562) มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาที่สงสัยล่าช้ากว่าครึ่ง ซึ่งเป็นผลจากการบริโภคอาหารของแม่และเด็ก การเลี้ยงดู และกิจกรรมทางกายของเด็ก นอกจากนี้ปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการดูแลเด็กเล็กให้มีพัฒนาการที่ดียังไม่เพียงพอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ (จากข้อมูล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข (ข้อมูล ณ กันยายน 2562)
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM ขึ้นเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัยทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์จิตใจ สังคม
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงาน
วิธีดำเนินการ
อบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM
ขั้นตอนการดำเนินการ
1. กำหนดวันจัดอบรม
2. ประสานวิทยากร
3. ประสานผู้ปกครอง
4. ดำเนินการอบรม
5. รายงานผลการดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ
สถานที่ดำเนินการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ
ระยะเวลาที่ดำเนินการ
วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
งบประมาณ
งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.หนองธง จำนวน 7,490 บาท รายละเอียดดังนี้
๑. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,100 บาท
2. ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าวัสดุ (จำนวน 36 คน)
- สมุด เล่มละ 10 บาท/คน เป็นเงิน 360 บาท
- ปากกา ด้ามละ 5 บาท/คน เป็นเงิน 180 บาท
4. ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 450 บาท
5. ค่าเครื่องมือ DSPM จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 2,300 บาท
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายสามารถถัวจ่ายได้ทุกรายการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และ บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM
- เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้ปกครองเข้าร่วมเกินครึ่งและให้ความร่วมมือกับโครงการครั้งนี้เป็นอย่างดี
ปัญหา/อุปสรรค ผู้ปกครองบางคนป่วยไม่สามารถเข้าร่วมอบรมครั้งนี้ได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
ตัวชี้วัด : ๑. เชิงปริมาณ
ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก บุคลากรทางการศึกษา และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน จำนวน 42 คน
๒. เชิงคุณภาพ
1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM
2. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
32
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3344-3-26
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจุฬาพร นาคสังข์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจุฬาพร นาคสังข์ทอง
กรกฎาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3344-3-26 เลขที่ข้อตกลง 17/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มิถุนายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3344-3-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มิถุนายน 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยหรือช่วงขวบปีแรกๆ ของชีวิตเป็นช่วงเวลาของการพัฒนาที่สำคัญที่สุดในชีวิตของเด็ก โดยเป็นช่วงวัยที่เด็กจะมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางสมอง การใช้ภาษา ทักษะทางสังคม ทางอารมณ์ และการเคลื่อนไหว เป็นช่วงวัยของการสร้างรากฐานสำหรับการเติบโตและการเรียนรู้ต่อไปในชีวิต ดังนั้น การพัฒนาและการลงทุน ในเด็กปฐมวัย จึงเป็นสิ่งสำคัญอันดับต้นๆ ของทุกครอบครัวและประเทศชาติ เพราะเป็นโอกาสทองครั้งเดียวใน ชีวิตเด็ก การพัฒนาเด็กปฐมวัยจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ทั้งจากครอบครัว สถานพยาบาล สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สถานศึกษา ชุมชน สังคม ภาคเอกชน สื่อ และบริการภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ และสติปัญญาที่สมกับวัย เกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับศักยภาพของแต่ละบุคคลและความต้องการจำเป็นพิเศษ พร้อมทั้งสร้างคุณลักษณะให้เด็กปฐมวัย มีอุปนิสัยใฝ่ดี มีคุณธรรม มีวินัย ใฝ่รู้ มีความคิด สร้างสรรค์ และสามารถซึมซับ สุนทรียะและวัฒนธรรมที่หลากหลายเคารพคุณค่าของบุคคลอื่น มีจิตวิญญาณของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเสมอภาค มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
การดูแลที่เหมาะสม พบว่า เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มการสูงดีสมส่วนและระดับ IQ ดีขึ้น แม้ว่าการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วนมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ยังต่ำกว่า เป้าหมาย โดยเด็กสูงดีสมส่วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47.0 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 58.95 ในปี 2562 แต่ยังถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ำ นอกจากนี้ พบว่า เด็กไทยวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ร้อยละ 25.92 (ข้อมูล ณ กันยายน 2562) มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาที่สงสัยล่าช้ากว่าครึ่ง ซึ่งเป็นผลจากการบริโภคอาหารของแม่และเด็ก การเลี้ยงดู และกิจกรรมทางกายของเด็ก นอกจากนี้ปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการดูแลเด็กเล็กให้มีพัฒนาการที่ดียังไม่เพียงพอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ (จากข้อมูล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข (ข้อมูล ณ กันยายน 2562)
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM ขึ้นเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัยทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์จิตใจ สังคม
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงาน
วิธีดำเนินการ
อบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM
ขั้นตอนการดำเนินการ
1. กำหนดวันจัดอบรม
2. ประสานวิทยากร
3. ประสานผู้ปกครอง
4. ดำเนินการอบรม
5. รายงานผลการดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ
สถานที่ดำเนินการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ
ระยะเวลาที่ดำเนินการ
วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
งบประมาณ
งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.หนองธง จำนวน 7,490 บาท รายละเอียดดังนี้
๑. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,100 บาท
2. ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าวัสดุ (จำนวน 36 คน)
- สมุด เล่มละ 10 บาท/คน เป็นเงิน 360 บาท
- ปากกา ด้ามละ 5 บาท/คน เป็นเงิน 180 บาท
4. ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 450 บาท
5. ค่าเครื่องมือ DSPM จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 2,300 บาท
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายสามารถถัวจ่ายได้ทุกรายการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และ บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM
- เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้ปกครองเข้าร่วมเกินครึ่งและให้ความร่วมมือกับโครงการครั้งนี้เป็นอย่างดี ปัญหา/อุปสรรค ผู้ปกครองบางคนป่วยไม่สามารถเข้าร่วมอบรมครั้งนี้ได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ ตัวชี้วัด : ๑. เชิงปริมาณ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก บุคลากรทางการศึกษา และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน จำนวน 42 คน ๒. เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 32 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาที่สมวัย มีความคิดทางสติปัญญา IQ และความฉลาดทางอารมณ์ EQ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใช้คู่มือ DSPM (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลักสิบ) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3344-3-26
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจุฬาพร นาคสังข์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......