กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของกลุ่มเกษตรกร หมู่ที่ 4 บ้านชะเอาะ
รหัสโครงการ 65-L3046-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง
วันที่อนุมัติ 30 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,525.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกูรอซีด๊ะ บูละ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อาคารอเนกประสงค์บ้านชะเอาะ หมู่ที่ 4 ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.813,101.402place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 ก.ค. 2565 22 ก.ค. 2565 12,525.00
รวมงบประมาณ 12,525.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เกษตรกรมีความสำคัญในระบบเศรษฐกิจของประเทศ แต่เนื่องจากประชาชนที่อยู่ในภาคเกษตรเป็นกลุ่มเสี่ยงที่สุดต่ออุบัติเหตุจากการทำงาน เช่น เกษตรกรที่ทำนามีโอกาสเสี่ยงต่อการถูกหอยหรือของมีคมบาดทำให้เกิดบาดแผลและปัญหาการเจ็บป่วยจากการทำงาน ได้แก่ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเนื่องจากการยกของที่ไม่ถูกวิธี ทำให้ปวดไหล่และหลังการเร่งรีบทำงานมีผลทำให้เคร่งเครียดทางจิตใจ ออกแรงมากเกินกำลังเป็นประจำการทำงานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสม การเคลื่อนไหวของร่างกายในลักษณะซ้ำซาก พื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านชะเอาะ มีประชากรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมด อีกทั้งเกษตรอำเภอยะหริ่งได้ให้การส่งเสริมและสนับสนุนการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ เพื่อการสร้างรายได้และปรับปรุงคุณภาพชีวิตครอบครัวเกษตรกร อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 จึงเข้าใจและตระหนักถึงอันตรายจากการทำงานและสุขภาพ รวมไปถึงการปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน เพื่อลดความเสี่ยงจากการที่จะได้รับอันตรายโรคจากการทำงาน เข้าใจปัญหาและตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะได้มีการอบรมถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีวอนามัยแก่เกษตรเพื่อให้รู้จักป้องกันอันตรายอันเกิดจากการทำงานในภาคเกษตรซึ่งจะส่งผลทำให้เกษตรกรมีการทำงานที่ดี มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการมีสุขอนามัยที่ดีขึ้นด้วยชะเอาะ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยที่ดี

 

0.00
2 เพื่อให้เกษตรกรได้มีความรู้ในแนวทางป้องกันอันตรายเนื่องจากการทำงานภาคเกษตร

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน(13 มิ.ย. 2565-30 ก.ย. 2565) 0.00        
2 กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้(13 มิ.ย. 2565-30 ก.ย. 2565) 0.00        
3 ประเมินผลและสรุปโครงการ(1 ก.ค. 2565-31 ต.ค. 2565) 0.00        
รวม 0.00
1 กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 ประเมินผลและสรุปโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพและรู้วิธีการดูแลสุขภาพในการประกอบอาชีพ
  2. เกษตรกรได้มีความรู้ในแนวทางป้องกันอันตรายเนื่องจากการทำงานภาคเกษตร
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ค. 2565 22:13 น.