กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพสตรีตำบลขอนคลาน
รหัสโครงการ 65-L5291-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มสตรีตำบลขอนคลาน
วันที่อนุมัติ 5 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวโสภา พันทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.998,99.691place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สตรี เป็นพลังของชุมชนในการพัฒนาสุขภาพครอบครัว ต้องอาศัยสตรีในการเลี้ยงดูเด็ก ในการบริหารจัดการครอบครัว ในการดุแลผู้สูงอายุ สตรีเป็นพลังที่เต็มเปี่ยมด้วยความสามารถได้นั้น ตัวสตรีเองต้องมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีก่อนจะไปดูแลคนอื่น ซึ่งปัจจุบันสตรีมีโอกาสและปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคมากกว่าผู้ชาย เช่น พังผืดที่มดลูก กระเพาะปัสสาวะอักเสบ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจ เป็นต้น ดังนั้นกลุ่มสตรีตำบลขอนคลาน ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของสตรีในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพสตรีตำบลขอนคลาน ขึ้น เพื่อให้สตรีในตำบลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพของสตรี และลดอัตราการป่วยของสตรีที่เพิ่มขึ้นได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพของสตรี

ร้อยละ 70 สตรีในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพ

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรี

ร้อยละ 70  สตรีในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

0.00
3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรีให้มีความแข็งแรง สมบูรณ์และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ร้อยละ 80 สตรีในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพของสตรี ๒. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของสตรี ๓. สตรีมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ มีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.ค. 2565 10:48 น.