กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565 ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอนุกูล ชุมมทอง

ชื่อโครงการ โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 28 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 28 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยและอันตรายต่อเกือบทุกอวัยวะของร่างกายมีคนไทย1ล้านคนที่มีชีวิตอยู่แต่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจากการสูบบุหรี่ จะมีคนป่วยโรคเรื้อรังจากการสูบบุหรี่ที่ยังมีชีวิตอยู่อย่างน้อย 20 คน การสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง 12 ชนิด โรคหัวใจ โรคเส้นเลือดในสมอง โรคถุงมปอดพอง เบาหวาน การสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นวัณโรค ตาบอด ภูมิต้านทานของร่างกายลดลงและทุกอวัยวะแก่ก่อนวัยอันควรแและการสูบบุหรี่ทำให้สมรรถภาพทางเพศเสื่อม
  การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่ป้องกันได้ การสูบบุหรี่ ทำให้คนไทยเสียชีวิตปีละ 50,710 คน ซึ่งยังไม่ได้รวมการเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสองเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต 1ใน6 ของชายไทย และ1ใน30 ของหญิงไทยการสูบบุหรี่ทำให้เสียชีวิตวันละ 140 คน ผู้ที่สูบบุหรี่อายุสั้นลง 12 ปี และป่วยหนักโดยเฉลี่ย 2.5 ปีก่อนตาย   ในประเด็นพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พว่าอัตราการซุกของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นเท่ากับ 22.4 อัตราการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นชาเท่ากับร้อยละ 39.5 และอัตราการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงเท่ากับร้อยละ 2.3 โดยวัยรุ่นชายมีอัตรการสูบบุหรี่สูงสุดในภาคใต้ ส่วนวัยรุ่นหญิงมีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุดในกรุงเทพฯ อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกเท่ากับ 15.3 ปี โดยอายุน้อยที่สุดที่เริ่มสูบบุหรี่คือ 11 ปี ในกลุ่มวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ เกือบครึ่งหนึ่งหนึ่งสูบบุหรี่ทุกวันหรือเกือบทุกวัน เป็นที่น่าห่วงใยวัยรุ่นรายงานว่า เคยสูบบุหรี่เมื่ออยู่กับพ่อแม่มีสัดส่วนสูงขึ้นมาก แสดงว่าครอบครัวของวัยรุ่นส่วนใหญ่รับรู้และยอมรับการสูบบุหรี่ของลูก   ในประเด็นความรู้และทัศนคติต่อการสูบบุหรี่ พบว่า วัยรุ่นไทยยอมรับการสูบบุหรี่ของเพศชายมากกว่าการสูบบุหรี่ของเพศหญิง โดยวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ยอมรับการสูบบุหรี่มากกว่าวัยรุ่นที่ไม่สูบบุหรี่ โดยวัยรุ่นที่ไม่สูบบุหรี่มีความรู้เรื่องผลกระทบมากกว่าไม่สูบบุหรี่ ในประเด็นปัจจัยแวดล้อม พบว่า บุคคลในครอบครัวและเพื่อนสนิทต่างมีบทบบาทสำคัญต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ โดยวัยรุ่นที่อยู่ในครัวเรือนที่สูบบุหรี่มีอัตราการสูบบุหรี่สูงกว่าครัวเรือนที่ไม่มีผู้สูบบุหรี่   วิธีการที่ได้ผลที่ทำให้ผู้สูบุหรี่เลิกบุหรี่ได้ดีที่สุด ได้แก่วิธีการหักดิบ แต่การที่ต้องอยู่ในสังคมที่สูบบุหรี่อาจทำให้ความตั้งใจในการเลิกบุหรี่ยากขึ้น การหลีกเลี่ยงจากสังคมการสูบบุหรี่หรือมีนวัตกรรมที่ทำให้สูบบุหร่น้อยลงเมื่อเข้าสังคมเป็นตัวช่วยเสริมที่ดีในการต้องการเลิกสูบบุหรี่ การเพิ่มพื้นที่่สาธารณะเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ตมแนวทางปฏิบัติพื้นที่ในอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เปิดโล่งแต่มีหลังคา ได้แก่โรงเรียน ศาลาหมู่บ้าน พื้นที่เปิดโล่งไ่ม่มีหลังคา ได้แก่ สถานที่ออกำลังกาย สถาานที่สาธารณะ ก็เป็นปัจจัยหนึ่งของสร้างสังคมและสิ่งแสดล้อมของผู้เลิกสูบบุหรี่มีความสำเร็จมากยิ่งขึ้น   จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาข้างต้น สภานักเรียนโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร จึงได้คิดจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันให้เยาวชนป้องกันตนเองจาการเป็นนักสูบหน้าใหม่ได้ และช่วยให้กลุ่มเยาวชนที่สูบบุหรี่ในโรงเรียนสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้และสร้าางพื้นทีสาธารณะปลอดบุหรี่ตามกฎหมายเพิ่มขึ้นในโรงเรียนสร้างสุขภาวะของสังคมปลอดบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างทัศนคติถึงโทษและพิษภัยการสููบบุหรี่ให้แก่เยาชน ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียน 2.เพื่อลดอัตตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนในโรงเรียน 3.เพื่อสร้างสัญลักษณ์พื้นที่งดสูบบุหรี่่ในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนรู้จักโทษและพิษภัยของบุหรี่ มีทัศนคติในการป้องกันการสูบบุหรี่ ลดการเพิ่มของนักสูบหน้าใหม่ 2.ลดอัตตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนในโรงเรียน 3.มีพื้นที่การงดสูบบุหรี่ในโรงเรียนตามกฎหมาย ครอบคลุมทั้งโรงเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อสร้างทัศนคติถึงโทษและพิษภัยการสููบบุหรี่ให้แก่เยาชน ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียน 2.เพื่อลดอัตตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนในโรงเรียน 3.เพื่อสร้างสัญลักษณ์พื้นที่งดสูบบุหรี่่ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.ความรู้และทัศนคติของนักเรียนนโรงเรียนเก่ยวกับพิษของการสูบบุหรี่ 2.อัตตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนในโรงเรียน 3.มีสัญลักาณ์พื้นที่การงดสุบบุหรี่ในโรงเรียนตามกฎหมาย ครอบคลุมทุกพื้นที่
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างทัศนคติถึงโทษและพิษภัยการสููบบุหรี่ให้แก่เยาชน ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียน 2.เพื่อลดอัตตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนในโรงเรียน 3.เพื่อสร้างสัญลักษณ์พื้นที่งดสูบบุหรี่่ในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ SCPP อาสา นำพานักเรียนเลิกบุหรี่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอนุกูล ชุมมทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด