กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซีตีมารีแย สาแล๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2479-5-46 เลขที่ข้อตกลง 46/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2479-5-46 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ(ไข้หวัดใหญ่ โควิด-19) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ(ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ(อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือ เท้า ปาก,ทางเดินหายใจ,ฉี่หนู) โรคติดต่ออุบัติใหม่ หมายถึงโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในมนุษย์ เป็นโรคติดเชื้อชนิดใหม่ รวมถึงโรคติดต่ออุบัติซ้ำ ซึ่งก็คือโรคติดต่อจากเชื้อโรคที่เคยแพร่ระบาดในอดีต และสงบไปหลายปีแล้วกลับมาระบาดขึ้นใหม่ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่, โรคติดเชื้อมือ เท้า ปาก, โรคไข้เลือดออก,โรคติดเชื้อไวรัสซิกา, ไวรัสเมอร์ส, โรคซาร์ส, โรคไข้หวัดนก, โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ซึ่งกำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ เป็นต้น โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโนคเรื้อรัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคระบาดในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่น และภาคประชาชน เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาแต่ละพื้นที่ สำนักปลัด(งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) องค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคติดต่อที่มีผลกระทบต่อประชาชนในด้านต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคระบาด การเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน
  2. เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนในกรณีเกิดโรคระบาดในพื้นที่
  3. เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  2. กิจกรรมแจกแผ่นพับและทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  3. กิจกรรมพ่นสารเคมีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. กิจกรรมฉีดพ่นสารเคมีในชุมชน
  5. กิจกรรมให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับโรคระบาด การเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคในชุมชนแบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน
  6. กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแกนนำชุมนในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดในพื้นที่ 2.ไม่เกิดการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของโรคในพื้นที่ 3.ประชาชนมีส่วนร่วมควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับสภาพแวดล้อมในอาคร บ้านเรือน ที่พักอาศัย สถานที่ทำงาน และชุมชม ให้สะอาด น่าอยู่ 4.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคระบาดวิทยา ในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคระบาด การเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนในกรณีเกิดโรคระบาดในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคระบาด การเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนในกรณีเกิดโรคระบาดในพื้นที่ (3) เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ (2) กิจกรรมแจกแผ่นพับและทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) กิจกรรมพ่นสารเคมีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) กิจกรรมฉีดพ่นสารเคมีในชุมชน (5) กิจกรรมให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับโรคระบาด การเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคในชุมชนแบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน (6) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแกนนำชุมนในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในเขตอบต.บูกิตปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2479-5-46

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซีตีมารีแย สาแล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด