กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน ”

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภิตาล เด่นดารา นางสาวสุปราณี ใบหมาดปันจอ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5286-02-02 เลขที่ข้อตกลง 5

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5286-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา แจ้งว่าขณะนี้กำลังเข้าสู่ฤดูฝน และสถานศึกษาเริ่มมีการเปิดเรียนแบบ on site ทำให้เด็กมารวมกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อที่่สำคัญ ได้แก่ โครมือเท้าปาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โรคไข้หวัดใหญ่
ในการนี้ ทางโรงเรียนบ้านวังประจันจึงจำเป็นต้องให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดดังกล่าวและขอความร่วมมือ ให้ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการตามมาตรการและต้องเพิ่่มความตระหนักในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้เข้มข้นมากขึ้น เพื่อกำจัดโรคระบาดและโรคติดต่อที่สำคัญๆ ในเด็กไม่ให้แพร่กระจายไปในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรคติดต่อ(ลูกนำ้ยุงลาย)ด้วยความร่วมมือร่วมใจของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
  2. 2.เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องไวรัสโคโรน่า 2019 (covid19)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
  3. 3.เพื่อลดการเจ็บป่วยและป้องกันการระบาดจากโรคมือ เท้า ปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19
  3. กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือเท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 147
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเด็กนักเรียนอายุ5 -12 ขวบ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง 2.นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถอยูร่วมกันโดยปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T 3.อัตราการเจ็บป่วยจากโรคมือ เท้า ปาก ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19

วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด - ๑๘ วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๕ -ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม -พิธีเปิดโครงการ โดย นายสุไลหมาน ตาเดอิน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวังประจัน -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "ให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด - ๑๘ ในสถานศึกษา" โดย นางสาวมารียา สุขสง่า ตำแหน่งนักวิชาการ สาธารณสุขชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "ให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด - ๑๘ ในสถานศึกษา" โดย นางสาวมารียา สุขสง่ ตำแหน่งนักวิชาการ สาธารณสุขชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน
-วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ชุดตรวจ ATK และวิธีการล้างมือด้วยสบู่ และเจลแอลกอฮอล์ที่ถูกวิธี โดย นางสาวมารียา สุขสง่า ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัง ประจัน -เดินรณรงค์ ให้ความรู้เกี่ยวกับป้องกันโรคโควิด - ๑๙ ในสถานศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียมีสุขภาพที่แข็งแรง
2 นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษก สามารถอยู่ร่วมกันโดยปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T
3.อัตราการเจ็บป่วยจากโรคโควิด

 

0 0

2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ -ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม พิธีเปิดโครงการ โดย นายมุฮัมมัดสุกรี แหมถิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "ให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในสถานศึกษา" โดย นางสาวรสนา บินหมาน ตำแหน่งนักวิชาการ สาธารณสุขชำนาญการ สาธารณสุขอำเภอควนโดน พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่ม -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "ให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในสถานศึกษา" โดย นางสาวรสนา บินหมาน ตำแหน่งนักวิชาการ สาธารณสุขชำนาญการ สาธารณสุขอำเภอควนโดน (ให้ความรู้ต่อ) พักรับประทานอาหารกลางวัน ( พักตามอัธยาศัย) -วิทยากรฝึกปฏิบัติโดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ และกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดย นางสาวรสนา บินหมาน ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญ การ สาธารณสุขอำเภอควนโดน พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่ม -เดินรณรงค์ ให้ความรู้เกี่ยวกับป้องกันโรคไข้เลือดออก ในสถานศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายลดลง

 

0 0

3. กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือเท้า ปาก

วันที่ 7 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ การเฝ้าระวังควบคุมโรคมือ เท้า ปากในสถานศึกษา วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๕ -ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม พิธีเปิดโครงการ โดย นายมุฮัมมัดสุกรี แหมถิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "การเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปากใน สถานศึกษา" โดย นางอภิยา เหตุทอง ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญ การ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลวังประจัน พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่ม -วิทยากรให้ความรู้ในข้อหัว "การเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปากใน สถานศึกษา" โดย นางอภิยา เหตุทอง ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญ การ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลวังประจัน (ให้ความรู้ต่อ) พักรับประทานอาหารกลางวัน ( พักตามอัธยาศัย) -วิทยากรสอนและสาธิตการล้างมือที่ถูกวิธีให้กับนักเรียนและบุคลากร ทางการศึกษา โดย นางอภิยา เหตุทอง ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญ การ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลวังประจัน พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่ม -เดินรณรงค์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปากใน สถานศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการเจ็บป่วยจาก โรค มือ เท้า ปาก ลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรคติดต่อ(ลูกนำ้ยุงลาย)ด้วยความร่วมมือร่วมใจของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
0.00

 

2 2.เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องไวรัสโคโรน่า 2019 (covid19)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถอยูร่วมกันโดยปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T
0.00

 

3 3.เพื่อลดการเจ็บป่วยและป้องกันการระบาดจากโรคมือ เท้า ปาก
ตัวชี้วัด : อัตราการเจ็บป่วยจากโรคมือ เท้า ปาก ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 147
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มเด็กนักเรียนอายุ5 -12 ขวบ 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรคติดต่อ(ลูกนำ้ยุงลาย)ด้วยความร่วมมือร่วมใจของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) 2.เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องไวรัสโคโรน่า 2019 (covid19)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา (3) 3.เพื่อลดการเจ็บป่วยและป้องกันการระบาดจากโรคมือ เท้า ปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19 (3) กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือเท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5286-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภิตาล เด่นดารา นางสาวสุปราณี ใบหมาดปันจอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด