กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสาน๊ะ ยีปันจอ

ชื่อโครงการ โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงมากขึ้นในประเทศ ทั่วโลกและประเทศใกล้เคียงซึ่งโรงเรียนบ้านบควนโต๊ะเหลง อยู่ในจังหวัดที่มีพื้นที่ชายแดนธรรมชาติติดกับประเทศมาเลเซีย (ช่องทางธรรมชาติ) กำลังเป็นพื้นที่แพร่กระจายเชื้ออยู่เช่นเดียวกับประเทศไทย จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อสะสมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอาจเป็นภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคโควิด 19 ในเขตพื้นที่ของชุมชนและสถานศึกษา อาจส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนั้นสถานศึกษาจึงมีแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามสถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ของโรงเรียนบ้านบควนโต๊ะเหลง มีดังนี้ 1. ประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ผ่านระดับสีเขียวสามารถยื่นขออนุญาต เปิดเรียนแบบ On Site
2.ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องได้รับการฉีดวัคซีน ร้อยละ 85
3. นักเรียนและผู้ปกครองต้องได้รับการฉีดวัคซีนให้ได้มากที่สุด ร้อยละ 80 4.สถานศึกษานำผลการประเมินตนเองเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบและเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด เพื่อพิจารณาอนุมัติให้เปิดเรียนได้ 5.คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอนุมัติให้เปิดเรียนได้ สถานศึกษาต้องปฏิบัติ 6 มาตรการหลัก และ 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเข้มงวดอย่างเคร่งครัด
6.สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น ด้วยการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ส่งผลให้การดำเนินชีวิตต้องปรับเปลี่ยนไปการอยู่ร่วมกันในสังคมต้องมีมาตรการป้องกันโรคและมีสามัญสำนึกต่อตนเองและผู้อื่นดังนั้นการตรวจคัดกรอง การให้ความรู้เพื่อเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตที่ส่งเสริมด้านความปลอดภัยการใช้มาตรการป้องกันการติดเชื้อ
และการฉีดวัคซีนถือเป็นมาตรการสำคัญในการดำเนินชีวิต ชุดตรวจ ATK จึงเป็นอุปกรณ์สำคัญในการตรวจคัดกรอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด – 19) และอุปกรณ์ในการป้องกันและทำความสะอาดอย่างเพียงพอ
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19
  3. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และสร้างความตระหนักแก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อชุดตรวจ
  2. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19
  3. สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด
  4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ โรคโควิด- 19 (การป้องกัน การดูแลสุขภาพ การฉีดวัคซีน ฯลฯ)
  5. 1.จัดซื้อวัสดุและอุปกรณืในการตรวจ ป้องกันและดูแลสุขภาพ 2.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19 3.สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด 19 4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา 13
ผู้ปกครองนักเรียน 32

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองโดยใช้ชุดตรวจATK ทีมีคุณภาพและมีอุปกรณ์ในการป้องกันและทำความสะอาดอย่างเพียงพอ
  2. นักเรียนได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคโควิด-19และการดำเนินชีวิตตามวิถีใหม่
  3. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคโควิด-19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดซื้อวัสดุและอุปกรณืในการตรวจ ป้องกันและดูแลสุขภาพ 2.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19 3.สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด 19 4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวก

วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์  ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด – 19) และอุปกรณ์ในการป้องกันและทำความสะอาดอย่างเพียงพอ 2.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19
    3.สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด 19
    4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ โรคโควิด- 19 (การป้องกัน การดูแลสุขภาพ การฉีดวัคซีน ฯลฯ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ชุดตรวจ ATK  มีเพียงพอต่อความต้องการ 2.มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อความต้องการ 3.นักเรียนผู้ปกครอง ครู มีความตระหนัก รู้จักป้องกันและปลอดภัยจากโรคโควิด-19 และสามารถปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยและให้คำแนะนำแก่บุคคลอื่นได้ 4.ชุมชนมีความรู้ ตระหนักและปลอดภัยแและห่างไกลจากโรคต่าง ๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด – 19) และอุปกรณ์ในการป้องกันและทำความสะอาดอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : - ชุดตรวจ ATK มีเพียงพอต่อความต้องการ - มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อความต้องการ
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : - นักเรียนมีความตระหนัก รู้จักป้องกันและปลอดภัยจากโรคโควิด-19
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และสร้างความตระหนักแก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : - ชุมชนมีความรู้ ตระหนักและปลอดภัยจากโรคระบาดโดยเร็ว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 179
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา 13
ผู้ปกครองนักเรียน 32

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด – 19) และอุปกรณ์ในการป้องกันและทำความสะอาดอย่างเพียงพอ (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 (3) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และสร้างความตระหนักแก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดตรวจ (2) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19 (3) สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด (4) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ โรคโควิด- 19 (การป้องกัน การดูแลสุขภาพ การฉีดวัคซีน ฯลฯ) (5) 1.จัดซื้อวัสดุและอุปกรณืในการตรวจ ป้องกันและดูแลสุขภาพ 2.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคโควิด -19  3.สร้างความตระหนักโดยการประชาสัมพันธ์ ในหมู่บ้าน (เดินรณรงค์ให้ความรู้) เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด 19  4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมเเรง ร่วมใจ ห่างไกลโควิด-19 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสาน๊ะ ยีปันจอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด