กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ


“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565 ”

ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางศิราณี อับดุลรามัน

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 2565-L2519-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2565-L2519-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพกายและใจที่ดีเป็นสิ่งสำคัญมาก ที่จะช่วยให้คนเรานั้นมีอายุยืนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในปัจจุบันประชาชนมีความใส่ใจในการดูแลสุขภาพน้อยมาก ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆที่เกิดจากการไม่ดูแลตัวเองให้ดี หรือดูแลอย่างไม่ถูกวิธี โดยเฉพาะในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคมากที่สุด ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี ๒๕๖5 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีอยู่ราว ๑ ใน ๖ ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ ๖๐ ปีขึ้นไปเกินร้อยละ ๑๐ หรือ ประชากรอายุ ๖๕ ขึ้นไปเกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๗ หรืออีก ๕ ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอ ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม ปัญหาเหล่านี้สามารถป้องกันหรือลดอุบัติการณ์ได้โดยการที่เราส่งเสริมสุขภาพ ใส่ใจดูแลผู้สูงอายุ การแพทย์แผนไทยเป็นอีกหนึ่งศาสตร์ในการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษาและฟื้นฟูสุขภาพเช่นการดูแลรักษาโรคด้วยสมุนไพร การปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช การพอกเข่า พอกตาด้วยยาเย็น เป็นต้น และการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยังช่วยให้ภาวะจิตใจของผู้สูงอายุดีขึ้น ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เป็นการส่งเสริมให้สามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังตอบสนองยุทธศาสตร์แห่งชาติในการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มีส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาผู้ป่วยในและนอกหน่วยบริการ งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด เปิดให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค จ่ายยาสมุนไพร นวดรักษา ประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การพอกยาสมุนไพร และการแช่เท้าสมุนไพร ในการให้บริการเชิงรับ ปี 2553 มีผู้ที่เข้ามารับบริการจำนวน 691 ครั้ง ปี 2564 มีผู้มารับบริการจำนวน 1,239 ครั้ง ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีผู้มารับบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.92 ในจำนวนผู้มารับบริการทั้งหมดนั้นจะประกอบไปด้วยประชาชนทุกกลุ่มวัยมีตั้งแต่เด็กวัยเรียน วัยทำงาน ผู้อายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาตที่เกิดจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง มารดาหลังคลอด และยังมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ยังทำการรักษากับหมอพื้นบ้าน แต่ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน งานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึง เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุในตำบลฆอเลาะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ สุขภาพกายใจที่ดี ไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
  2. 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 - มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และผู้ที่มีปัญหาตา ฝ้าฟาง ตามัว ความดันลูก ตา ปวดศรีษะ ไมเกรน - จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมที่ 2 - จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ - มีกิจกรรมการออกกำลัง กายในกลุ่มเป้าหมาย สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง (ต่อเนื่อง) - มีการตรวจสุขภาพช่อง ปากในกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ สามารถนำองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย มาใช้ในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพตนเองได้
  2. ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ มีสุขภาพกาย ใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ 2. มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90
0.00

 

2 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าถึงบริการด้านแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพร 4. มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ (2) 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  - มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ  ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และผู้ที่มีปัญหาตา ฝ้าฟาง ตามัว ความดันลูก ตา ปวดศรีษะ ไมเกรน  - จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมที่ 2  - จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ  - มีกิจกรรมการออกกำลัง กายในกลุ่มเป้าหมาย  สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง  (ต่อเนื่อง)  - มีการตรวจสุขภาพช่อง ปากในกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขภาพกายใจดีวิถี แพทย์แผนไทย ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 2565-L2519-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิราณี อับดุลรามัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด