กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565 ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะกะตา เจ๊ะแล.นางสาวฮูซายน๊ะห เจ๊ะแล.นางสาวนาเดียร์ บูงอสายู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65 - L2515 - 2-8 เลขที่ข้อตกลง 16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65 - L2515 - 2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ)       ปัจจุบันระบบสุขภาพของไทย ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกาลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น การเดิน วิ่ง และปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น การปั่นจักรยาน เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งยังเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนหรือผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย       บุหรี่เป็นปัญหาที่ยากในการแก้ไข การแก้ปัญหาจึงต้องจริงจัง เอาใจใส่ติดตามต่อเนื่องและแก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชน เพราะไม่เช่นนั้นการแก้ปัญหาจะไม่ได้ผล กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้หรือผู้ที่เลิกแล้วอาจจะไม่เลิกอย่างเด็ดขาดและตัดสินใจกลับมาสูบอีก ในกลุ่มเป้าหมายเองก็ยากที่จะแก้ปัญหาเพราะการเลิกบุหรี่ต้องเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจและตั้งใจจริงในการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยตนเอง การคัดสรรกิจกรรมหรือการคิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพเพื่อเลิกบุหรี่จึงต้องเป็นการแก้ปัญหาที่เป็นไปตามบริบทของพื้นที่และเป็นไปตามที่กลุ่มเป้าหมายต้องการ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลสามัคคี  โดยชมรมรักสุขภาพ ตำบลสามัคคี ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย พิชิตสุขภาพใจ ปี 2565 ในครั้งนี้ โดยมีการรวมตัวของเด็กนักเรียน และประชาชน ทุกเพศทุกวัย สรรค์สร้างกิจกรรมเพื่อสุขภาพ อีกทั้งยังสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเดิน วิ่ง และปั่นจักรยาน ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลดีต่อชุมชน และสร้างแบบอย่างเพื่อจุดประกายให้ทุกคนหันมาปั่นจักรยาน นอกจากได้เสริมสร้างสุขภาพแล้ว ยังช่วยลดมลพิษ ประหยัดพลังงาน ช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกทางหนึ่งด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี 2. เพื่อขับเคลื่อนการควบคุมการบริโภคยาสูบโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างสังคมปลอดบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและสร้างสังคมปลอดบุหรี่
  2. ประชุมทีมงาน
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและกายบริหาร
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน
  5. เดินวิ่งรณรงค์ สร้างกระแสในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี
  3. เพื่อขับเคลื่อนการควบคุมการบริโภคยาสูบโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน
  4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างสังคมปลอดบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมทีมงาน

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน

 

60 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและกายบริหาร

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิต 2.อบรมให้ความรู้เรื่องกายบริหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพกายและใจ

 

100 0

3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ภัยของการสูบบุหรี่ 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน 3.ถอดบทเรียนจากกิจกรรมที่ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีการขับเคลื่อนการควบคุมการบริโภคยาสูบ

 

100 0

4. เดินวิ่งรณรงค์ สร้างกระแสในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินวิ่งรณรงค์ สร้างกระแสในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนสุขภาพจิตดี ร่างกายแข็งแรง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี 2. เพื่อขับเคลื่อนการควบคุมการบริโภคยาสูบโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างสังคมปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย 2. มีการรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ ในทุกระดับ มีพื้นที่ ปลอดบุหรี่ในชุมชน 3. ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสม ไม่มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสูบบุหรี่
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง  มีสุขภาพดี      2. เพื่อขับเคลื่อนการควบคุมการบริโภคยาสูบโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน    3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างสังคมปลอดบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและสร้างสังคมปลอดบุหรี่ (2) ประชุมทีมงาน (3) อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและกายบริหาร (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน (5) เดินวิ่งรณรงค์ สร้างกระแสในการลด ละเลิกบุหรี่ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ห่างไกลบุหรี่ ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65 - L2515 - 2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะกะตา เจ๊ะแล.นางสาวฮูซายน๊ะห เจ๊ะแล.นางสาวนาเดียร์ บูงอสายู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด