กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจดูแลผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ 65-l2505-3-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลสามัคคี
วันที่อนุมัติ 19 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 43,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนรา อาลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.423,101.587place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 43,000.00
รวมงบประมาณ 43,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลสุขภาวะ คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน เป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาพื้นที่ตำบลสามัคคี โดยการบูรณาการขับเคลื่อนงานทุกภาคส่วนเพื่อให้บรรลุเป็นตำบลสุขภาวะ มีสังคมและสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการอยู่ดี มีสุข ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่อง ในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

  ประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิมซึ่ง จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองสามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข ทั้งกายและจิตใจ

 

200.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ร่วมใจดูแลผู้สูงอายุ(30 ก.ค. 2565-30 ก.ค. 2565) 43,000.00      
รวม 43,000.00
1 ร่วมใจดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 43,000.00 1 43,000.00
30 ก.ค. 65 อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ 200 43,000.00 43,000.00

5.งบประมาณดำเนินการ   งบประมาณจากเงินอุดหนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสามัคคีเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 1,000  บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม     จำนวน  200 คน มือละ 35 บาท จำนวน 2 มือ  เป็นเงิน 14,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน
    จำนวน 200 คน มือละ 65 บาท จำนวน 1 มือ      เป็นเงิน 13,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรสมมนา  จำนวน 1 คน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท  เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากรประจำกลุ่ม 6 กลุ่ม จำนวน 6 คน 3 ชั่วโมงๆละ 400 บาท
  เป็นเงิน 7,200 บาท - ค่าจ้างเหมาเครื่องเสียง 1 วัน  เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าเช่า โต๊ะ เก้าอี้ เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเงิน 1,000  บาท

            รวมจำนวนเงินทั้งสิ้น  43,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน)

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง เหมาะสม 2.ผู้สูงอายุมีสุขร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนและพฤติกรรม   สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง 3.ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สุขกายสุขใจ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2565 16:42 น.