กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์เลิกเหล้า เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุข ประจำปี 2565
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมคนรักษ์สุขภาพบ้านไร่เหนือ
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพิเชษฐ์ เขียดนิล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.423,99.921place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
65.00
2 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
65.00
3 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน
68.00
4 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
67.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

65.00 70.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

65.00 70.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนการมีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบในชุมชน

68.00 70.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนการมีและใช้มาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

67.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปและผู้ที่ติดบุหรี่ ติดเหล้าที่สมุครเข้าร่วมโครงการ ของหมู่บ้านไร่เหนือ จำนวน 1 วัน(1 เม.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 9,500.00            
2 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โดยภาคีเครือข่ายในชุมชน(1 เม.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 3,300.00            
3 3.จัดกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนความรู้(1 เม.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 2,200.00            
4 4.กิจกรรมตืดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย(1 พ.ค. 2566-30 ก.ย. 2566) 0.00            
รวม 15,000.00
1 1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปและผู้ที่ติดบุหรี่ ติดเหล้าที่สมุครเข้าร่วมโครงการ ของหมู่บ้านไร่เหนือ จำนวน 1 วัน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 121 9,500.00 0 0.00
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าจัดจ้างทำป้าย 0 400.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าอาหารกลางวัน 60 3,600.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 3,000.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 2,000.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าถ่ายเอกสารชุดความรู้ 0 500.00 -
2 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โดยภาคีเครือข่ายในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 3,300.00 0 0.00
16 ก.ย. 66 ค่าอาหารกลางวัน 30 1,800.00 -
16 ก.ย. 66 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 1,500.00 -
3 3.จัดกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 2,200.00 0 0.00
23 ก.ย. 66 ค่าอาหารกลางวัน 20 1,200.00 -
23 ก.ย. 66 ค่าอาหารกลางวัน 20 1,000.00 -
4 4.กิจกรรมตืดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักโทษภัยบุหรี่ และปรับพฤติกรรมลด เลิกบุหรี่ เลิกเหล้า 2.สามารถลดจำนวนผู้ติดเหล้า ติดบุหรี่ ที่เข้าร่วมโครงการลงได้ร้อยละ 5 3.ลดควันบุหรี่ที่มีผลกระทบต่อคนที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านลงได้ร้อยละ 70 4.ภาคีเคลือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการลด ละ เลิกบุหรี่ เลิกเหล้า

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2565 09:44 น.