กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565 ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปลื้มจิตร ศรีคงแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 02 - 22 เลขที่ข้อตกลง 23/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65 – L2985 – 02 - 22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,734.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการได้รับข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ปี 2565 ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป เป็น โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 135 คน โรคเบาหวาน 25 คน โรคไต จำนวน 64 คน (ข้อมูลจาก : ศูนย์สุขภาพชุมชนมะกรูด) และจากการคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ประจำปี 2564 จำนวน 138 คน พบว่า เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 56 คน สาเหตุเกิดจากสภาพสังคมปัจจุบัน การดำรงชีวิตประจำวันของประชาชน ต้องเร่งรีบแข่งขันกับเวลา ขาดการออกกำลังกาย ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การรับประทานอาหารจานด่วน การซื้ออาหารถุง รับประทานอาหารที่ปรุงสำเร็จ ในอาหารเกือบทุกชนิดจะใช้เกลือแกง ผงชูรส น้ำมัน น้ำตาล เป็นองค์ประกอบ การบริโภคเกลือ ผงชูรส ไขมัน น้ำตาล ในปริมาณสูง ในระยะยาวอาจ ส่งผลให้เกิดโรค เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือโรคไต ซึ่งโรคดังกล่าวสามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ซึ่งการให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนได้รับรู้ว่า ในอาหาร 1 จาน ที่เรากำลังจะกินไปนั้นมีปริมาณเกลือผงชูรส ไขมัน น้ำตาล เท่าใด ซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งในการรณรงค์ลดการบริโภค ความหวาน มัน เค็มได้
  ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด มองเห็นถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ที่จำเป็นต่อสุขภาพของคนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ลดลง หรืออยู่ในเกณฑ์ปกติได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และกิจกรรมกลุ่ม
  2. กิจกรรมติดตามผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อื่นๆ
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และกิจกรรมกลุ่ม

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และกิจกรรมกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
    • อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคอาหาร การลดหวาน มัน เค็ม
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้

 

60 0

2. กิจกรรมติดตามผล

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมติดตามผลค่าความดันโลหิตและเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

2.1 กิจกรรมติดตามผลค่าความดันโลหิตและเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง หลังเสร็จสิ้นโครงการ 3 เดือน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 88
1.2. กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ลดลง หรืออยู่ในเกณฑ์ปกติได้ หลังเสร็จสิ้นโครงการ ร้อยละ 82.5
การดำเนินกิจกรรม 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และกิจกรรมกลุ่ม
  - อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคอาหาร การลดหวาน มัน เค็ม แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และวางแผนการ ในวันที่ 16 กันยายน 2565 ณ วัดโมลีนิมิต หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด - กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ โดยแบ่งกลุ่มสาธิต และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายสร้างสุขภาพ 2. กิจกรรมติดตามผล - กิจกรรมติดตามผลค่าความดันโลหิตและเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง หลังเสร็จสิ้นโครงการ 3 เดือน โดยการตรวจคัดกรองค่า BMI รอบเอว ความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
80.00 88.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ลดลง หรืออยู่ในเกณฑ์ปกติได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ลดลง หรืออยู่ในเกณฑ์ปกติได้ หลังเสร็จสิ้นโครงการ
80.00 82.50

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ลดลง หรืออยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และกิจกรรมกลุ่ม (2) กิจกรรมติดตามผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมู่ที่ 7 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 02 - 22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปลื้มจิตร ศรีคงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด