กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเวทีคืนข้อมูลกับชุมชนเพื่อการจัดการขยะ 26 ก.ย. 2565 28 ก.ย. 2565

 

การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเวทีคืนข้อมูลกับชุมชนเพื่อการจัดการขยะ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในตำบลนาหว้า

 

มีข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาในรการจัดการขยะในชุมชน

 

การมีนโยบายสาธารณะหรือกติกาชุมชน (ธรรมนูญตำบลน่าอยู่) 28 ก.ย. 2565 28 ก.ย. 2565

 

มีนโยบายสาธารณะหรือกติกาชุมชน (ธรรมนูญตำบลน่าอยู่)

 

มีนโยบายสาธารณะหรือกติกาชุมชน (ธรรมนูญตำบลน่าอยู่) ที่ใช้ร่วมกัน

 

รณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดการขยะที่ต้นทาง 12 ต.ค. 2565 17 ต.ค. 2565

 

จัดทำป้ายรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

 

ประชาชนในตำบลนาหว้าทราบเกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

 

การพัฒนาทักษะการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและปลอดภัยต่อสุขภาพ 19 ต.ค. 2565 19 ต.ค. 2565

 

จัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและปลอดภัยต่อสุขภาพ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7R

 

การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ 19 ต.ค. 2565 19 ต.ค. 2565

 

  1. คณะกรรมการดำเนินการลงพื้นที่เพื่อตัดสินคัดเลือกบ้านต้นแบบฯ
  2. ดำเนินการมอบป้ายแก่บ้านต้นแบบฯ

 

ชุมชนมีความสะอาด และเกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาขยะ

 

การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ 15 ธ.ค. 2565 11 ก.ย. 2566

 

  • การจัดตั้งธนาคารขยะชุมชน หรือ ธนาคารขยะในหน่วยงาน
  • กลไกสภาเยาวชนจัดการขยะในชุมชน
  • การมีกลไกเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่อการทิ้งขยะสมสมในชุมชน เช่น ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ลับตาผู้คน ที่ดินซึ่งมีการนำสิ่งของมาทิ้งประจำ เป็นต้น

 

  • เกิดธนาคารขยะชุมชน หรือ ธนาคารขยะในหน่วยงาน
  • เกิดกลไกสภาเยาวชนจัดการขยะในชุมชน
  • เกิดกลไกเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่อการทิ้งขยะสมสมในชุมชน เช่น ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ลับตาผู้คน ที่ดินซึ่งมีการนำสิ่งของมาทิ้งประจำ เป็นต้น