กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ เกษาทร

ชื่อโครงการ อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-17 เลขที่ข้อตกลง 19/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิษฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้น ได้ทั้งชุมชนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปีและพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ ๕ – ๑๔ ปีแต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วย ไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัด ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและ ร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยน แนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อม ทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม ต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชน ทุกโรงเรียนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดและโรงเรียนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชน และโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืนสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๔ ในเขตพื้นที่อำเภอสิงหนคร พบว่า มีอัตราป่วยเป็นอันดับ๑๔ของจังหวัดสงขลาอัตราป่วยเท่ากับ๒.๔๗ต่อประชากรแสนคนตำบลที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ ต.ชิงโคต.สทิงหม้อต.ม่วงงามต.หัวเขาต.วัดขนุนต.บางเขียดต.ทำนบ ตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าวทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ ตระหนักถึงประชาชนนักเรียนและ เด็กเล็ก ในพื้นที่ของตำบลทำนบที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจึงได้จัดทำโครงการ “ อสม.ตำบลทำนบห่วงใยร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ” ขึ้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้เลือดออกและให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชน วัด โรงเรียนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลัง ความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน และให้ความรู้เพื่อเป็นการสร้างความตะหนัก และรับมือกับการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
  4. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมและความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการชาวทำนบใส่ใจ เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  3. กำหนดหลักเกณฑ์และกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สำรวจลูกน้ำยุงลาย และ ป้องกันโรค
  5. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ ในบ้านผู้ป่วยในชุมชน และในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 5
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำโครงการชาวทำนบใส่ใจ เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการ เสนองบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำโครงการและงบประมาณเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุน

 

0 0

2. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 6 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน งบประมาณ 1. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม มื้อละ 25บาท x 50 คน เป็นเงิน 1,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานสามารถออกแนวคิดการจัดกิจกรรมได้เป็นอย่างดี

 

0 0

3. กำหนดหลักเกณฑ์และกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 13 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานดำเนินการคิดกิจกรรมที่จะจัดทำขึ้น ร่วมกันเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความพร้อมในการทำกิจกรรม

 

0 0

4. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ ในบ้านผู้ป่วยในชุมชน และในโรงเรียน

วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ ในบ้านผู้ป่วยในชุมชนและในโรงเรียนก่อนเปิดเทอม จำนวน 2 ครั้ง งบประมาณ 1.น้ำยาพ่นหมอกควัน จำนวน 2ขวดๆละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 2. ค่าน้ำมันเบนซิน จำนวน 10 ลิตรๆละ 50 บาท เป็นเงิน 500 บาท 3.ค่าน้ำมันโซล่า (ดีเซล) จำนวน 30 ลิตรๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท 4.ค่าจ้างพ่นหมอกควัน จำนวน 2 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

 

0 0

5. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สำรวจลูกน้ำยุงลาย และ ป้องกันโรค

วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สำรวจลูกน้ำยุงลายและป้องกันโรค งบประมาณ 1.ป้ายรณรงค์ ขนาด 2x3 ม. จำนวน 9 แผ่นๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท 2.ค่าทรายอะเบท จำนวน 10 ถังๆละ 3,500 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท 3.ค่ายาทากันยุง/กันแมลง จำนวน 50 ซองๆละ 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท    4. ค่าสเปรย์ฉีดยุง 300 มล. จำนวน 70 กระป๋องๆละ 90 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท 5.แผ่นพับ / แบบสำรวจลูกน้ำ จำนวน 3,000 แผ่นๆละ 2 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้เข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. ทำให้ประชาชนพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
40.00 10.00 10.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
60.00 95.00 95.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
60.00 98.00 98.00

 

4 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมและความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดพฤติกรรมและความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
65.00 98.00 98.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 5 5
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม (4) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมและความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการชาวทำนบใส่ใจ เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน (3) กำหนดหลักเกณฑ์และกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สำรวจลูกน้ำยุงลาย และ ป้องกันโรค (5) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ ในบ้านผู้ป่วยในชุมชน  และในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อสม.ตำบลทำนบห่วงใย ร่วมเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบ เกษาทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด