กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565 ”

ณ สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

หัวหน้าโครงการ
กองการศึกษา เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565

ที่อยู่ ณ สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L8009-01-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและดูแลเอาใจใส่สุขภาพตัวเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิภสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565 ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในสภาวะสังคมปัจจุบัน วิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนคนไทย เข้าสู่สภาวะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินอยู่ การดำเนินชีวิตประจำวันถูกครอบงำด้วยวิถีสังคมแบบโลกตะวันตก และสังคมเมือง พฤติการณ์การบริโภคอาหารสำเร็จรูป อาหารจำพวกแป้ง และอาหารขยะที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามกระแสนิยมและสื่อโฆษณาต่าง ๆ การผลิตอาหารของผู้ประกอบการที่มีการแข่งขัน ทำให้ต้องใช้สารเคมีชนิดต่าง ๆ เข้ามาเพิ่มผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมเพื่อเร่งผลผลิตให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคจนขาดการตระหนักถึงสารเคมีตกค้างที่อาจสะสมในร่างกาย จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าคนไทย พฤติกรรมสุขภาพของประชากร ปี 2564 สำรวจ 84,000 ครัวเรือนทั่วประเทศ พบว่า พฤติกรรมของคนไทยที่นิยมรับประทานอาหารเป็นประจำ หรือความถี่ 3-7 วันต่อสัปดาห์คือ อาหารไขมันสูง 42% อาหารแปรรูป 39% และเครื่องดื่มเติมน้ำตาลบรรจุขวดที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 34% สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยกำลังขาดความมั่นคงทางอาหาร และยังเสี่ยงต่อการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs ในระยะยาว วัยเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง เรียกว่าตั้งแต่เกิด เราเจอปัญหาเด็กรุ่นใหม่ที่ได้กินนมแม่มีแค่ 17-25% ทั้งที่นมแม่มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ ส่วนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กไทยกินหวาน มันเค็มมากขึ้นจนมีภาวะอ้วน ทั้งยังไม่มีกิจกรรมทางกาย เมื่อโตขึ้นก็จะกลายเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน และเผชิญโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ โดยเฉพาะโรค NCDs" จากพฤติกรรมดังกล่าวของประชาชนพบว่าประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาโรคติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ซึ่งมีแนวโน้มและสถานการณ์เพิ่มขึ้นเนื่องจากต้องเผชิญกับกระแสโลกาภิวัฒน์ระบบทุนนิยมที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางด้านวัตถุ เกิดความเสื่อมถอย และล่มสลายของสถาบันครอบครัว สถานบันทางสังคม การดำเนินธุรกิจที่ขาดความรับผิดชอบ เกิดค่านิยม วัฒนธรรม วิถีการดำเนินชีวิตที่ไม่เพียงพอ และขาดความสมดุล สภาพแวดล้อมไม่ปลอดภัย ขาดการใส่ใจเรื่องสุขภาพส่งผลกระทบต่อสุขภาพขาดการออกกำลังกายเเละเกิดความเครียด ไม่สามารถจัดการกับอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมหาทางออกโดยการกินอาหาร ทำให้มีภาวะน้ำหนักเกิน และอ้วน เป็นสาเหตุหลักของโรคที่เกิดจากการดำเนินวิถีชีวิต หากไม่หยุดยั้งปัญหาได้จะทำให้เกิดการเจ็บป่วย พิการและเสียชีวิตมีภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ กองการศึกษาได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นให้ได้รับความรู้ เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ และการดูแลเอาใจใส่สุขภาพ ในด้านต่างๆมากยิ่งขึ้น และเห็นความสำคัญ ในการออกกำลังกาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นการรับประมานอาหารตามหลักโภชนาการ กิจกรรมทายกายที่เหมาะสม ด้วยหลัก 3 อ. (ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อาหารสะอาดปลอดภัย อารมณ์ดี)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและดูแลเอาใจใส่สุขภาพตัวเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิภสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง 2.ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนมีสุขภาพแข็งแรงสามารถต่อยอดการออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน อย่างสม่ำเสมอได้ 3.ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนหันมาสนใจการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565

วันที่ 9 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานผู้เกี่ยวข้องตามโครงการ
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  3. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับวัยและความสนใจ
  4. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย และการสาธิตการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  5. ติดตามประเมินผล สรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565 ได้จัดให้มีกิจกรรม 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง ในวันที่ 9 กันยายน  2565
    1. เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม
    2. เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับช่วงวัย
    3. เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ รูปแบบ และวิธีการออกกำลังกาย
              4. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ
  ได้รับความสนใจจากผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชน ซี่งมีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 82 คน จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 80 คน คิดเป็นร้อยละ 102.5 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้ส่วนใหญ่ จะมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับมาก เช่น ความพึงพอใจในเนื้อหาตรงตามความต้องการ ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 63.75  การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66.25  สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้ อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 65 มีความพึงพอใจในการได้รับประโยชน์จากการอบรม ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.25
กิจกรรมที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จำนวน 54 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่  12 กันยายน 2565 – 20 ตุลาคม 2565 ตั้งแต่เวลา  16.30 – 18.00 น. วันละ 1 ชั่วโมง 30 นาที  โดยแยกเป็น       1. การออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ จำนวน 54 ชั่วโมง ซึ่งผู้เข้าร่วมออกกำลังกายที่สนใจเต้นบาสโลบจะเป็นเพศหญิงทั้งหมด
      2. การออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ ซึ่งผู้เข้าร่วมออกกำลังกายสนใจในการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาตะกร้อ ซึ่งมีทั้งเพศชาย และเพศหญิง       จากการทำกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรม ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม  เข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมกับช่วงวัย และมีความสนใจในการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ และการเล่นตะกร้อ จากการสังเกตการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการพัฒนาตนเอง ทั้งทางด้านความจำ ประสาทสัมผัส ตาดู หูฟัง ร่างกายเคลื่อนไหว การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัย และมีความสุข สนุกสนาน ชื่นชอบการออกกำลังกาย และเกิดการต่อยอดด้วยการออกกำลังกายต่อเนื่องหลังเสร็จสิ้นโครงการและผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่นับถือศาสนาพุทธหลายคนได้นำพื้นฐานความรู้จากการเต้นบาสโลมไปใช้ในการเข้าร่วมเต้นบาสโลบในงานบุญต่าง ๆ เช่น ประเพณีชักพระ ทอดกฐิน เป็นต้น       จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับมาก เช่น การออกกำลังกายทำให้สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง คล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉงขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80 การออกกำลังกายทำให้พัฒนาทักษะ ความจำ และมีสมาธิ อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.75 การออกกำลังกายทำให้มีความสุข สนุกสนาน และผ่อนคลาย อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.5  การเข้าร่วมกิจกรรมทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในสังคมมากขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.25 และจากการวัดค่าดรรชนีมวลกายก่อนอบรมและหลังอบรม ปรากฏว่ามีผู้ร่วมกิจกรรมที่ มีน้ำหนักลดลง คิดเป็นร้อยละ 59.74 มีรอบเอวลดลงคิดเป็นร้อยละ 57.14 มีความดันโลหิตลดลง คิดเป็นร้อยละ 48.05 และจากการจัดกิจกรรมจะเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพศหญิงจะให้ความสนใจในการออกกำลังการมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 68.75 และผู้เข้าร่วมโครงการฯต้องการให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เมื่อสิ้นสุดโครงการ  คิดเป็นร้อยละ 86.25 ซี่งเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ทุกคนหันมาสนใจให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565 ได้จัดให้มีกิจกรรม 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง ในวันที่ 9 กันยายน 2565
  1. เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม
  2. เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับช่วงวัย
  3. เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ รูปแบบ และวิธีการออกกำลังกาย
        4. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ
  ได้รับความสนใจจากผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชน ซี่งมีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 82 คน จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 80 คน คิดเป็นร้อยละ 102.5 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้ส่วนใหญ่ จะมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับมาก เช่น ความพึงพอใจในเนื้อหาตรงตามความต้องการ ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 63.75 การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66.25 สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้ อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 65 มีความพึงพอใจในการได้รับประโยชน์จากการอบรม ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.25
กิจกรรมที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จำนวน 54 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2565 – 20 ตุลาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 16.30 – 18.00 น. วันละ 1 ชั่วโมง 30 นาที โดยแยกเป็น     1. การออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ จำนวน 54 ชั่วโมง ซึ่งผู้เข้าร่วมออกกำลังกายที่สนใจเต้นบาสโลบจะเป็นเพศหญิงทั้งหมด
    2. การออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ ซึ่งผู้เข้าร่วมออกกำลังกายสนใจในการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาตะกร้อ ซึ่งมีทั้งเพศชาย และเพศหญิง     จากการทำกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรม ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม เข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมกับช่วงวัย และมีความสนใจในการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ และการเล่นตะกร้อ จากการสังเกตการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการพัฒนาตนเอง ทั้งทางด้านความจำ ประสาทสัมผัส ตาดู หูฟัง ร่างกายเคลื่อนไหว การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัย และมีความสุข สนุกสนาน ชื่นชอบการออกกำลังกาย และเกิดการต่อยอดด้วยการออกกำลังกายต่อเนื่องหลังเสร็จสิ้นโครงการและผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่นับถือศาสนาพุทธหลายคนได้นำพื้นฐานความรู้จากการเต้นบาสโลมไปใช้ในการเข้าร่วมเต้นบาสโลบในงานบุญต่าง ๆ เช่น ประเพณีชักพระ ทอดกฐิน เป็นต้น     จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับมาก เช่น การออกกำลังกายทำให้สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง คล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉงขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80 การออกกำลังกายทำให้พัฒนาทักษะ ความจำ และมีสมาธิ อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.75 การออกกำลังกายทำให้มีความสุข สนุกสนาน และผ่อนคลาย อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.5 การเข้าร่วมกิจกรรมทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในสังคมมากขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.25 และจากการวัดค่าดรรชนีมวลกายก่อนอบรมและหลังอบรม ปรากฏว่ามีผู้ร่วมกิจกรรมที่ มีน้ำหนักลดลง คิดเป็นร้อยละ 59.74 มีรอบเอวลดลงคิดเป็นร้อยละ 57.14 มีความดันโลหิตลดลง คิดเป็นร้อยละ 48.05 และจากการจัดกิจกรรมจะเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพศหญิงจะให้ความสนใจในการออกกำลังการมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 68.75 และผู้เข้าร่วมโครงการฯต้องการให้จัดกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เมื่อสิ้นสุดโครงการ คิดเป็นร้อยละ 86.25 ซี่งเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ทุกคนหันมาสนใจให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและดูแลเอาใจใส่สุขภาพตัวเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและดูแลเอาใจใส่สุขภาพตัวเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพร้อยละ 100
100.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิภสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนมีความมีความรู้เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม ร้อยละ 100
100.00 80.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชนได้ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
100.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและแกนนำชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและดูแลเอาใจใส่สุขภาพตัวเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมผู้บริหาร สมาชิภสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคร้ายที่เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุ และแกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2565 ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565

รหัสโครงการ 65-L8009-01-012 ระยะเวลาโครงการ 9 สิงหาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้สูงอายุและเเกนนำชุมชน ลดพุง ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ2565 จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L8009-01-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองการศึกษา เทศบาลตำบลทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด