โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 53
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรงส่วนหนึ่ง โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลด ละ กิจกรรมเสี่ยง ได้แก่การไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ลดอาหารที่มีรสหวานมันเค็มและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้นมีการออกกำลังกายเป็นประจำลดภาวะน้ำหนักเกิน เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Change Agent) โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ (Buddy Healthy)” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเอง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความร่วมมือและเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันการเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเสี่ยง ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า
วันที่ 13 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ อสม.
2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องอาหาร และพฤติกรรมการดูแลตนเองในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3.จัดกิจกรรมออกกำลังกาย โดยการให้ความรู้การออกกำลังกายที่ถูกต้อง และสาธิตการออกกำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้า
4.ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมสุขภาพได้ให้ รพ.สต.
5.ติดตามผลกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.กลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
3.อัตราการเกิดโรคเรื้องรังลดลง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
กันยายน 2565
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 53
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรงส่วนหนึ่ง โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลด ละ กิจกรรมเสี่ยง ได้แก่การไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ลดอาหารที่มีรสหวานมันเค็มและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้นมีการออกกำลังกายเป็นประจำลดภาวะน้ำหนักเกิน เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Change Agent) โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ (Buddy Healthy)” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4 ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเอง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความร่วมมือและเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันการเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเสี่ยง ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ อสม. 2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องอาหาร และพฤติกรรมการดูแลตนเองในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3.จัดกิจกรรมออกกำลังกาย โดยการให้ความรู้การออกกำลังกายที่ถูกต้อง และสาธิตการออกกำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้า 4.ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมสุขภาพได้ให้ รพ.สต. 5.ติดตามผลกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.กลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 3.อัตราการเกิดโรคเรื้องรังลดลง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และสาธิตการออกกำลังกายโดยผ้าขาวม้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตห่างไกลโรคภัย ม.4 บ้านนัดโต๊ะโมง ต.สะเตงนอก อ.เมืองจ.ยะลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......