กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕ ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮายาตี สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2480-2-10 เลขที่ข้อตกลง 24/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กันยายน 2565 ถึง 22 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองแก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิผล (2) เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้ (3) เพื่อให้มีบุคลิกภาพ เจตคติ มนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจและพฤติกรรมุขภาพ เหมาะสมกับงานอาสาสมัครประจำครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว รพสต.มะรือโบออก (3) ขั้นสรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพไทยกำลังเผชิญกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุการเปลี่ยนจากสังคมชนบทสู่สังคมเมืองตลอดจนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ประชาชนมีความคาดหวังต่อคุณภาพของระบบบริการมากขึ้น จึงจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพในภาคประชาชนให้เข้มแข็ง เพื่อให้มีกำลังคนด้านสุขภาพในชุมชนที่มีศักยภาพและเป็นแกนหลักในการดูแลและจัดการด้านสุขภาพของประชาชน ประกอบกับพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชาชนที่ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases : NCDs) มากขึ้น รวมถึง มีผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงเพิ่มขึ้น เป้าหมายการพัฒนาสุขภาพมุ่งหวังให้เกิดการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง (Self Care) ให้ประชาชนได้เลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่ใช้ประพฤติปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของประชาชนด้วยกันเอง ในการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ระวังรักษาร่างกายให้สะอาดปราศจากเชื้อโรค ภัย อันตรายที่อาจจะทำให้บาดเจ็บ ป่วย เสี่ยงหรือพิการ การดูแลจิตใจให้สดชื่นแจ่มใสโดยการใช้องค์ความรู้ ภูมิปัญญา เทคโนโลยีและทรัพยากรพื้นฐานในครอบครัว ชุมชนและสังคม ดังนั้นในการพัฒนาสุขภาพของประชาชนเพื่อประชาชนสุขภาพดี จึงต้องขยายเครือข่ายการสร้างความรู้ให้ประชาชนจากชุมชนไปสู่ถึงครัวเรือนด้วยการกำหนดให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวด้วยการให้นำบุตรหลาน ญาติ สมาชิกในครอบครัวหรือผู้ดูแลมาเข้ารับการอบรมหรือเรียนรู้ร่วมกับญาติที่ป่วยว่าควรจะดูแลอย่างไรและจะทำอย่างไรให้คนในครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อเสริสร้างศักยภาพของครอบครัวในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการสร้างกระบวนการให้ประชาชนดำเนินการตามหน้าที่ของพลเมืองในการมีความรู้ ความเข้าใจและประพฤติปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองอย่างรับผิดชอบด้วยความรู้สึกว่า “สุขภาพเป็นของเรา” ในทุกครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองแก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิผล
  2. เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
  3. เพื่อให้มีบุคลิกภาพ เจตคติ มนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจและพฤติกรรมุขภาพ เหมาะสมกับงานอาสาสมัครประจำครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว รพสต.มะรือโบออก
  3. ขั้นสรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 57
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
  2. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัยความเสี่ยง ภัยสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขั้นเตรียมการ

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการชมรมเพื่อร่วมกันวางแผนและกำหนดกิจกรรมในดำเนินโครงการ
  2. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมะรือโบออก
  3. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕
  4. จัดทำเอกสารการอบรม
  5. ประสานวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แบ่งงานอย่างมีคุณภาพ

 

57 0

2. ขั้นสรุปผลโครงการ

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว  โดยการประเมินความรู้หลังการอบรม ติดตามและประเมินการดำเนินงานของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามและประเมินการดำเนินงานของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว

 

0 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว รพสต.มะรือโบออก

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

8.30 น - 9.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น.- 9.10 น. แลกเปลี่ยนความรู้ก่อนการเข้าอบรม 9.10 น. - 10.40 น. แนวคิด ความจำเป็นในการดูแลสุขภาพของแต่ละกลุ่มวัย (ตามช่วงชีวิตและ กลุ่มโรคที่เจ็บป่วยของกลุ่มเป้าหมายสมาชิกในครอบครัวที่ต้องไปดูแล) 10.40 น. - 10.55 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.55 น. - 12.00 น. วิธีการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้ที่ต้องดูแลทั้งการดูแลสุขภาพครอบครัวในภาวะปกติและการดูแลสุขภาพครอบครัวในภาวะฉุกเฉิน 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.30 น. การประเมินความเสี่ยง ภัยสุขภาพ ความก้าวหน้าของโรคและการจัดการ รวมถึงการบันทึกข้อมูล 14.30 น. - 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 น. - 16.30 น. บทบาท อาสาสมัครประจำครอบครัว และการเชื่อมโยงเครือข่าย อสม.คุณธรรม จริยธรรม ของอาสาสมัครประจำครอบครัว
16.30 น. พิธีปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
  2. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัยความเสี่ยง ภัยสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้

 

57 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองแก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้องร้อยละ 80
57.00 57.00 57.00

 

2 เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัยความเสี่ยง ภัยสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
57.00 57.00 57.00

 

3 เพื่อให้มีบุคลิกภาพ เจตคติ มนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจและพฤติกรรมุขภาพ เหมาะสมกับงานอาสาสมัครประจำครอบครัว
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีการประสานงาน เชื่อมโยง เป็นเครือข่าย ส่งต่อข้อมูลด้านสุขภาพ รับความรู้เพิ่มเติมและรับคำปรึกษาจาก อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
57.00 57.00 57.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 57 57
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 57 57
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองแก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิผล (2) เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้ (3) เพื่อให้มีบุคลิกภาพ เจตคติ มนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจและพฤติกรรมุขภาพ เหมาะสมกับงานอาสาสมัครประจำครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว รพสต.มะรือโบออก (3) ขั้นสรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรู้และพัฒนาการศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ปี ๒๕๖๕ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2480-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรฮายาตี สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด