กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน
1. ตรวจสุขภาพคัดกรองความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง CVD Risk รายบุคคล จำนวน 40 คน
2. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเองในโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ให้ความรู้เรื่องการรับประทานยา การใช้ยาให้เหมาะสมกับโรคโดยเภสัชกรจากโรงพยาบาล
สรุปผลการคัดกรองผู้เข้าร่วมโครงการผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
เพศ จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
ชาย 8        20 หญิง 32        80

ตารางที่ 2 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกประเภทผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
โรค จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ DM    4        10 DMHT  15            37.5 HT  21            52.5 ตารางที่ 3 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามอายุ (ปี)
อายุ(ปี) จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ 40 – 49 5          12.5 50 – 59 19        47.5 60 – 69 12        30 70 ปีขึ้นไป 4        10
ตารางที่ 4 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จากตารางแสดงให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมไม่สูบบุหรี่เป็นจำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 85 และมีพฤติกรรมสูบบุหรี่จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15
ตารางที่ 5 แสดงผลการแปลผลระดับโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้า ตามแบบคัดกรอง CVD Rick
จากตารางแสดงให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมโครงการผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีผลการคัดกรองการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ((CVD Risk) จากตารางสีที่ 2 เป็นกรณีไม่ทราบผล โคเลสเตอรอล) ผู้เข้าร่วมโครงการผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีระดับความรุนแรงโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้า มีระดับความรุนแรงความเสี่ยงต่ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคได้
68.88 80.00 90.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ90ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
85.00 90.00 92.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ80ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
72.25 80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้ผู้โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดอบรมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ  - ให้ความรู้ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกี่ยวกับโรคที่เป็น ภาวะแทรกซ้อนที่จะตามมา  - ให้ความรู้ด้านการรับประทานยา โดยเภสัชจากโรงพยาบาล (2) 2. คัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh