กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3351-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับับที่ 12 มีความต่อเนื่องจากแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 - 11 โดยยึดหลัก "เศรษฐกิจพอเพียง" และ "คนเป็นศูนย์กลาง" และ "สมดุลพัฒนา" ในทุกมิติได้ให้ความสำคัญกับการบริโภคไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยกำหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพคนว่า "ลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ โรคหัวใจความดันโลหิตสูงเบาหวานและหลอดเลือดในสมองเพื่อนำไปสู่การเพิ่มแรงงานและลดรายจ่ายทางด้านสาธารณสุข" เนื่องจากมีปัจจัยสาเหตุครอบคลุมทั้งเรื่องพฤติกรรมการบริโภคปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานก็เป็นปัญหาสุขภาพที่ประชาชนไทยมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ขาดการออกกำลังกาย โดยที่ประชาชนจำนวนมากยังไม่รู้ตัวเองว่ามีความผิดปกติหรือเป็นโรคแล้วไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่เหมาะสม จะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้วซึ่งอาจเกิดเสียชีวิตฉับพลันหรืออาจเป็นความพิการที่ไม่สามารถแก้ไขได้เช่นโรคหัวใจโรคหลอดเลือดตีบหรือแตกโรคไตวายหรือตาบอด สถานการณ์ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบในปี 2565 มีความชุก 187.45 / พันประชากร และ 44.26 / พันประชากรในปีงบประมาณ 2566 มีกลุ่มประชากรเป้าหมาย 1,300 รายโดยเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวานด้วยวิธีการเจาะปลายนิ้วและตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงด้วยวิธีการวัดความดันโลหิตตามเกณฑ์ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกชะงายจึงจัดทำโครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการเพื่อตรวจคัดกรองประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่ หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงซึ่งหากตรวจคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงจะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเพื่อลดความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการตรวจคัดกรองซ้ำแล้วยังเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งตัวรักษาต่อทุกคน
  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 6 และโรคเบาหวานไม่เกิน ร้อยละ 3

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน
  3. การเยี่ยมบ้าน/ติดตามประเมินผล
  4. การตรวจคัดกรองซ้ำ/ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
  2. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พบว่ายังมีความเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งตัวพบแพทย์
  3. อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงไม่เกิน ร้อยละ 6โรคเบาหวานไม่เกิน 3

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปีขึ้นไป -มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง อายุ 15 ปีขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปีขึ้นไป
-มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง กลุ่มอายุ 15-34 ปี ร้อยละ86.89  กลุ่มอายุ 35-59 ปี ร้อยละ 92.49    กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 95.03

 

0 0

2. การเยี่ยมบ้าน/ติดตามประเมินผล

วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการตรวจคัดกรองซ้ำกลุ่มเสี่ยงเบาหวานด้วยวิธี FBS จำนวน 12 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ส่งต่อพบแพทย์รับยา  จำนวน 3 คน    และมีการตรวจคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงซ้ำจำนวน 70 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการตรวจคัดกรองซ้ำกลุ่มเสี่ยงเบาหวานด้วยวิธี FBS จำนวน 12 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ส่งต่อพบแพทย์รับยา  จำนวน 3 คน    และมีการตรวจคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงซ้ำจำนวน 70 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 4 คน

 

0 0

3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน

วันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการอบรมให้ความรู้กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้ปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองได้อย่างเหมาะสม แก่กลุ่มเสี่ยง  จำนวน 100 คน โดยเป็นการบรรยายความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เกี่ยวกับสาเหตุการณ์เกิดโรค และวีการป้องกัน  ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้หลัก 3อ.2ส.  และจัดกิจกรรมส่งเสริมคลินิกไร้พุง  ในวันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 08.00 -16.00 น.  โดยนางสุคนธ์ ชูเอียด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.บ้านหัวถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอบรมให้ความรู้กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้ปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองได้อย่างเหมาะสม แก่กลุ่มเสี่ยง  จำนวน 100 คน โดยเป็นการบรรยายความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เกี่ยวกับสาเหตุการณ์เกิดโรค และวีการป้องกัน  ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้หลัก 3อ.2ส.  และจัดกิจกรรมส่งเสริมคลินิกไร้พุง  ในวันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 08.00 -16.00 น.  โดยนางสุคนธ์ ชูเอียด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.บ้านหัวถนน

 

0 0

4. การตรวจคัดกรองซ้ำ/ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์

วันที่ 7 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการตรวจคัดกรองซ้ำกลุ่มเสี่ยงเบาหวานด้วยวิธี FBS จำนวน 12 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ส่งต่อพบแพทย์รับยา  จำนวน 3 คน    และมีการตรวจคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงซ้ำจำนวน 70 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการตรวจคัดกรองซ้ำกลุ่มเสี่ยงเบาหวานด้วยวิธี FBS จำนวน 12 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ส่งต่อพบแพทย์รับยา  จำนวน 3 คน    และมีการตรวจคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงซ้ำจำนวน 70 คน ผลพบว่าเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 4 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
88.00 90.00 92.97

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการตรวจคัดกรองซ้ำแล้วยังเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งตัวรักษาต่อทุกคน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการตรวจซ้ำแล้วยังพบความเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งตัวรักษาต่อทุกคน
90.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 6 และโรคเบาหวานไม่เกิน ร้อยละ 3
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 6 และโรคเบาหวานไม่เกิน ร้อยละ 3
9.50 6.00 2.28

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการตรวจคัดกรองซ้ำแล้วยังเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งตัวรักษาต่อทุกคน (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 6 และโรคเบาหวานไม่เกิน ร้อยละ 3

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน (3) การเยี่ยมบ้าน/ติดตามประเมินผล (4) การตรวจคัดกรองซ้ำ/ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน ควบคุม โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด