โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 ”
ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดยากี เจ๊ะดู ประธาน อสม.ตำบลกาบัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565
ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 031/2565 เลขที่ข้อตกลง 030/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 031/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่คุกคามชีวิตของประชาชนจากโรคมะเร็งซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1
ในชายหญิง ในควันบุหรี่มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70 ชนิด ควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่
และผู้ไม่สูบ แต่ได้รับควันบุหรี่เป็นปัจจัยก่อมะเร็งปอด มะเร็งกล่องเสียง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหอบหืด ภูมิแพ้และโรคอื่นๆ มากมาย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสานพลังความร่วมมือในการลด ละ เลิกบุหรี่ ส่งเสริมการบังคับกฎหมายตาม พ.ร.บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2534 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้
ความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากการได้รับควันบุหรี่มือ 2 และ 3 ในคนที่ไม่ได้สูบและสร้างเสริมกลไกทางสังคม ดูแลให้กำลังใจให้คนสูบที่ต้องการลด ละ เลิก ตลอดจนป้องกันเด็กและเยาวชนไม่ให้เป็นนักสูบหน้าใหม่
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาบัง จึงได้จัดทำ “โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565” เพื่อให้ประชาชน ห่างไกลจากการสูบบุหรี่ และรณรงค์ส่งเสริมสำหรับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ เนื่องจาก
การสูบบุหรี่นั้นเป็นอันตรายต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่ใกล้กับผู้สูบบุหรี่ ทั้งยังเป็นสาเหตุที่จะนำไปสู่การติดสิ่งเสพติดอื่นๆ อีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่
- เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับบุหรี่ จำนวน 80 คน
- กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ (ก่อนและหลัง)
- กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบุหรี่
- กิจกรรมเดินรณรงค์ และจัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ประชาชนตระหนัก และเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่
-เกิดบ้านปลอดบุหรี่ในพื้นที่ และอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านลดลง
-มีคนต้นแบบในชุมชนสามารถเลิกบุหรี่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนัก และเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่
60.00
70.00
2
เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
ตัวชี้วัด : เกิดบ้านปลอดบุหรี่ในพื้นที่ และอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านลดลง
60.00
70.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีคนต้นแบบในชุมชนสามารถเลิกบุหรี่ได้
60.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ (2) เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับบุหรี่ จำนวน 80 คน (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ (ก่อนและหลัง) (3) กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบุหรี่ (4) กิจกรรมเดินรณรงค์ และจัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 031/2565
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮัมมัดยากี เจ๊ะดู ประธาน อสม.ตำบลกาบัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 ”
ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดยากี เจ๊ะดู ประธาน อสม.ตำบลกาบัง
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 031/2565 เลขที่ข้อตกลง 030/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 031/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่คุกคามชีวิตของประชาชนจากโรคมะเร็งซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1
ในชายหญิง ในควันบุหรี่มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70 ชนิด ควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่
และผู้ไม่สูบ แต่ได้รับควันบุหรี่เป็นปัจจัยก่อมะเร็งปอด มะเร็งกล่องเสียง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหอบหืด ภูมิแพ้และโรคอื่นๆ มากมาย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสานพลังความร่วมมือในการลด ละ เลิกบุหรี่ ส่งเสริมการบังคับกฎหมายตาม พ.ร.บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2534 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้
ความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากการได้รับควันบุหรี่มือ 2 และ 3 ในคนที่ไม่ได้สูบและสร้างเสริมกลไกทางสังคม ดูแลให้กำลังใจให้คนสูบที่ต้องการลด ละ เลิก ตลอดจนป้องกันเด็กและเยาวชนไม่ให้เป็นนักสูบหน้าใหม่
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาบัง จึงได้จัดทำ “โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565” เพื่อให้ประชาชน ห่างไกลจากการสูบบุหรี่ และรณรงค์ส่งเสริมสำหรับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ เนื่องจาก
การสูบบุหรี่นั้นเป็นอันตรายต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่ใกล้กับผู้สูบบุหรี่ ทั้งยังเป็นสาเหตุที่จะนำไปสู่การติดสิ่งเสพติดอื่นๆ อีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่
- เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับบุหรี่ จำนวน 80 คน
- กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ (ก่อนและหลัง)
- กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบุหรี่
- กิจกรรมเดินรณรงค์ และจัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ประชาชนตระหนัก และเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ -เกิดบ้านปลอดบุหรี่ในพื้นที่ และอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านลดลง -มีคนต้นแบบในชุมชนสามารถเลิกบุหรี่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนัก และเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ |
60.00 | 70.00 |
|
|
2 | เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน ตัวชี้วัด : เกิดบ้านปลอดบุหรี่ในพื้นที่ และอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านลดลง |
60.00 | 70.00 |
|
|
3 | เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน ตัวชี้วัด : มีคนต้นแบบในชุมชนสามารถเลิกบุหรี่ได้ |
60.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และขับเคลื่อนให้ประชาชนเห็นความสำคัญของพิษภัยจากบุหรี่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ (2) เพื่อรณรงค์ให้เกิดบ้านปลอดบุหรี่ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับบุหรี่ จำนวน 80 คน (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ (ก่อนและหลัง) (3) กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบุหรี่ (4) กิจกรรมเดินรณรงค์ และจัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกาบัง ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 031/2565
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮัมมัดยากี เจ๊ะดู ประธาน อสม.ตำบลกาบัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......