กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ“พัฒนาทักษะด้านโภชนาการและสร้างนักจัดการแก้ไขปัญหาโภชนาการแบบ Active Learning”
รหัสโครงการ 65-l3007-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.สะกำ
วันที่อนุมัติ 22 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 21,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอัสหม๊ะ วาเลาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.72,101.462place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ส.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 21,800.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 21,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดีตั้งแต่วัยเด็กเป็นรากฐานสำคัญทำให้เด็กเจริญเติบโตและมีสุขภาพดีไปตลอดชีวิต นอกจากนี้การได้รับสารอาหารที่หลากหลายในปริมาณที่เหมาะสมกับวัย ยังส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา ภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์น้ำหนักเทียบกับส่วนสูงที่มีภาวะผอมย้อนหลังตั้งแต่ปี 2559 -2565 ของอำเภอสะกำ จังหวัดปัตตานี คิดเป็นร้อยละ 30 และ ตามลำดับซึ่งมีแนวโน้มลดลง แต่ยังอยู่ในระดับที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิ การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการที่ผ่านมา พบว่าจะเน้นการจัดอบรมให้ความรู้เพราะเข้าใจว่ามีสาเหตุมาจากผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องโภชนาการ อีกทั้งขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการช่วยแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และกระบวนการติดตามการเจริญเติบโตของเด็กในพื้นที่ยังไม่มีความชัดเจน
ข้าพเจ้าจึงมีความสนใจที่จะค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาแต่ละครอบครัวและพัฒนาทักษะของผู้ดูแลเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลเด็กในชุมชน ตระหนักและมีทักษะด้านโภชนาการของเด็กแต่ละช่วงอายุ เป็นนักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว ให้สามารถวางแผนเมนูอาหารตามมาตรฐาน สัดส่วน ปริมาณอาหาร มีคุณภาพต่อเด็ก ในแต่ละช่วงวัย อีกทั้งมีความเข้าใจวิธีการสร้างพฤติกรรมการกินของเด็กที่เหมาะสม เพื่อสร้างสร้างเด็กปัตตานีสูงดีสมส่วน ในพื้นที่ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 . เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักและมีทักษะด้านโภชนาการของเด็กแต่ละช่วงอายุ ดังนี้ - เข้าใจสถานการณ์โภชนาการและตระหนักถึงผลกระทบของเด็กขาดสารอาหาร รวมทั้งมีความเข้าใจต่อความคิด ความเชื่อที่ส่งผลกระทบในเรื่องการบริโภคอาหารของเด็กปฐมวัย - ความสำคัญ และความแตกต่าง “อาหารและสารอาหาร” เข้าใจ และความรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ แหล่งที่มาของสารอาหาร - เข้าใจถึงผลกระทบของภาวะทุพโภชนาการต่อพัฒนาการเด็กและจัดเมนูอาหารที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขภาวะทุพโภชนาการได้

1.ผู้เข้าร่วมโรงการมีความเข้าใจสถานการณ์โภชนาการและตระหนักถึงผลกระทบของเด็กขาดสารอาหาร รวมทั้งมีความเข้าใจต่อความคิด ความเชื่อที่ส่งผลกระทบในเรื่องการบริโภคอาหารของเด็กปฐมวัยมากกว่าร้อยละ 80

0.00
2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาตนเองสู่นักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว ดังนี้ - สามารถวางแผนเมนูอาหารตามมาตรฐาน สัดส่วน ปริมาณอาหาร มีคุณภาพต่อเด็ก ในแต่ละช่วงวัย - เข้าใจวิธีการสร้างพฤติกรรมการกินของเด็กที่เหมาะสม
  1. ผู้เข้าร่วมโรงการ 5 มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวางแผนเมนุอาหารครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 75
0.00
3 เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : . เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักและมีทักษะด้านโภชนาการของเด็กแต่ละช่วงอายุ ดังนี้ - เข้าใจสถานการณ์โภชนาการและตระหนักถึงผลกระทบของเด็กขาดสารอาหาร รวมทั้งมีความเข้าใจต่อความคิด ความเชื่อที่ส่งผลกระทบในเรื่องการบริโภคอาหารของเด็กปฐมวัย - ความสำคัญ และความแตกต่าง “อาหารและสารอาหาร” เข้าใจ และความรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ แหล่งที่มาของสารอาหาร - เข้าใจถึงผลกระทบของภาวะทุพโภชนาการต่อพัฒนาการเด็กและจัดเมนูอาหารที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขภาวะทุพโภชนาการได้

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาตนเองสู่นักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว ดังนี้ - สามารถวางแผนเมนูอาหารตามมาตรฐาน สัดส่วน ปริมาณอาหาร มีคุณภาพต่อเด็ก ในแต่ละช่วงวัย - เข้าใจวิธีการสร้างพฤติกรรมการกินของเด็กที่เหมาะสม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

2 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 อบรม 0.00 21,800.00 -
2 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 อบรมให้ความรู้ 100.00 21,800.00 -
2 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 ติดตามหญิงตั้งครรภ์ 0.00 0.00 -
2 ส.ค. 65 - 30 มิ.ย. 67 เยี่ยมบ้าน 0.00 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. วางแผน และประชุมคณะทำงาน 1 วัน
    1. เตรียมอุปกรณ์สาธิต ได้แก่
    • ที่ชั่งน้ำหนัก จำนวน .... เครื่อง (เท่ากับจำนวนหมู่บ้าน)
    • ที่วัดส่วนสูง (เด็กเล็กต่ำกว่า 2 ปี : วัดความยาว/เด็กโตมากกว่า 2ปี : วัดส่วนสูง จำนวน .... เครื่อง)
    • โปรเจคเตอร์ LCD, สื่อ Power Point
    • วัสดุ และอุปกรณ์ ที่จะใช้ในการทำกิจกรรม ได้แก่
    1. จัดประชุมกลุ่มเป้าหมาย
    • ครู ก.(อสม.) ระยะเวลา 1 วัน
    • ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ระยะเวลา 1 วัน
  2. เชิญพ่อแม่เด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้แบบ Active Learning กิจกรรม“ครอบครัวโภชนาการ สร้างเด็กปัตตานีสูงดีสมส่วน” โดยวิทยากรจากรพ.หรือรพ.สต มีเนื้อหาดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดอาหารของผู้ปกครอง
    • ตั้งประเด็นคำถาม 11ข้อ ให้ตอบว่า ใช่ หรือไม่ใช่
    • ถามเหตุผลว่าทำไมจึงเลือกคำตอบนั้น
    • สรุปประเด็นสำคัญ
      กิจกรรมที่ 2 แนวคิดอาหารและโภชนาการ
    • บรรยายอาหารหลัก 5 หมู่ แหล่งที่มาของสารอาหาร
    • เล่นเกม เพื่อทบทวนสิ่งที่ได้รับรู้
    • สรุปประเด็นสำคัญ กิจกรรมที่ 3 ตลาดนัดลูกรัก
    • แบ่งกลุ่มระดมความคิด จัดเมนูอาหารหลัก 3 มื้อ สำหรับลูกรัก พร้อมอาหารว่าง 2 มื้อ โดยต้องเป็นเมนูอาหารที่ทำให้ลูกได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่

- จัดตลาดจำลอง และนำวัตถุดิบที่ได้จากตลาดจำลองมาสร้างเมนูอาหาร 1 เมนู โดยไม่ซ้ำ กับกลุ่มอื่น พร้อมนำเสนอ - ให้ข้อเสนอแนะ เรื่องการเลือกซื้อและจัดเมนูอาหารสำหรับเด็ก และความรู้เรื่อง    “ธงโภชนาการ” - สรุปประเด็นสำคัญ กิจกรรมที่ 4 การติดตามภาวะโภชนาการ - ชวนคุย และเปิดโอกาสให้พ่อแม่ แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น - นำเข้าสู่การพูดถึง “สาเหตุและผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการ” - กิจกรรม ติดตามโภชนาการเด็ก “สูงดีสมส่วน” ให้ฝึกคำนวณอายุ และจุดกราฟ - สรุปประเด็นสำคัญ           กิจกรรมที่ 5 กินเก่ง กินเอง - ใช้สถานการณ์สมมติ ชวนดูว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทำผิดพลาดตรงไหนบ้าง และสมควร แก้ไขอย่างไร - สรุปประเด็นสำคัญ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการปกติ สูงดีสมส่วน
    1. ครอบครัว ชุมชนเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก 3 เด็กอายุ ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ส.ค. 2565 14:43 น.