กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายการียา ยือแร

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3032-01-07 เลขที่ข้อตกลง 65-L3032-01-07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3032-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การระบาดของโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ไม่เว้นแม้แต่การสร้างเสริมสุขภาพ โดยเแพาะในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่ตั้งครรภ์ การฝากครรภ์เป็นมาตรการหนึ่งในการบริบาลและเฝ้าระวังความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ไปรับบริการดูแลครรภ์จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย 5 ครั้ง และควรไปฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทั้งนี้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวม รวมทั้งมารดาได้รับการตระเตรียมในการเลี้ยงดูทารกที่จะเกิดมา ย่อมส่งผลต่อคุณภาพเด็ก ไทยในอนาคต จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการฝากครรภ์ ได้แก่ ระบบบริการ การคมนาคม การย้ายถิ่นที่อยู่ ค่าใช้จ่าย และภาระงาน ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้ไปฝากครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและแรงสนับสนุนจากครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก เป็นลำดับต้น ๆ และได้นำแนวคิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลยะรัง มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการดำเนินงานด้านการอนามัยแม่และเด็ก แม้นว่าในหลายปีที่ผ่านมา ในพื้นที่ตำบลยะรังไม่พบ มารดา และเด็กตายคลอด แต่ก็ยังพบว่า ยังมีมารดาที่มาฝากครรภ์ช้า คือ มารดามาฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ร้อยละ 73.4 ,80.50,82.20.84.40,84.40,82.00 ในปี 2559 - 2564 ตามลำดับ และมาฝากครรภ์ก่อนคลอด ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 67.20,71.10,72.30,73.40 , 74.40 และ 78.00 ในปี 2559-2564 ตามลำดับ ซึ่งการกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เพิ่มการฝากครรภ์ให้ครอบคลุมให้มากที่สุด เป็นการลดความเสี่ยงที่จะทำให้มารดาและทารกสูญเสียชีวิตหรือพิการระหว่างตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอดได้ ดังนั้น เพื่อให้การแก้ไขปัญหาสุขภาพในงานอนามัยแม่และเด็ก จำเป็นต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง ไม่ซ้ำซ้อนกับกลุ่มเป้าหมายในปีที่ผ่านมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมย่อย กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ เพื่อให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสมาชิกในครอบครัว ชุมชน
  2. 2. กิจกรรมเชิงรุกเพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • หญิงวัยเจริญพันธ์ ที่ตั้งครรภ์ ได้รับการดูแล ก่อนคลอด หลังคลอด ตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก
  • ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด สู่การเป็นครอบครัวอบอุ่น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมย่อย กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ เพื่อให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสมาชิกในครอบครัว ชุมชน (2) 2. กิจกรรมเชิงรุกเพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ยุคใหม่ใส่ใจตั้งครรภ์คุณภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3032-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายการียา ยือแร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด