กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั้งยืน
รหัสโครงการ 65-L-002-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ 2
วันที่อนุมัติ 21 กรกฎาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2565 - 23 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 9,164.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุไรนี สะอะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.679,101.467place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไตเรื้อรัง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี และเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไตซึ่งได้แก่ การล้างไตทางช่องท้อง การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการปลูกถ่ายไต มีค่าใช้จ่ายสูงมากและมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโดยรวม ปัจจุบันพบผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังกระจายอยู่ในชุมขนและหมู่บ้านทั่วประเทศ จึงถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนร่วมมือผลักดันทศวรรษการป้องกันและชะลอภาวะไตเรื้อรังเพื่อขับเคลื่อนและร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไตทุกระดับ ซึ่งจะเป็นพลังในการแก้ไขปัญหาโรคไตอย่างยั้งยืนได้ งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่จึงมีความสำคัญยิ่งในการป้องกันและชะลอการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง ให้มีจำนวนที่ลดลงได้ในอนาคต ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑ บ้านข่าลิง ตระหนักถึงสภาวะสุขภาพของประชาชน และให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อรณรงค์สร้างกระแส แรงจูงใจ และป้องกันการเกิดโรคข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังอย่างยั่งยืน ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นได้
๒. ลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากประชาชนกลุ่มเสี่ยง ๓. สามารถสร้างกระแส รณรงค์ การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2565 10:36 น.