กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส ”

ม.3 ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนฤตย์วรรณ ดวงภักดี

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส

ที่อยู่ ม.3 ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2566-L5164-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,802.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทำให้วิถีชีวิตและพฤติกรรม การบริโภคไม่เหมาะสม จากการรับประทานรสจัด รวมทั้งการรับประทานผักผลไม้ที่ไม่เพียงพอ และมีภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ และการออกกำลังกายไม่เพียงพอ ทำให้จำนวนผู้ป่วยเรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างน่าเป็นห่วง ซึ่งโรคเรื้อรังไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่โรคเรื้อรังเหล่านี้เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งพัฒนาการของโรคจะดำเนินไปอย่างช้า ๆ แต่ค่อย ๆ สะสมอาการ อย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคเกิดขึ้นแล้ว ก็มักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย โรคที่ถูกจัดว่าเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรคเหล่านี้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงถือว่าเป็นภัยเงียบ โดยผลกระทบของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้เกิดความทุพพลภาพและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ตลอดจนการนำไปสู่โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น จอประสาทตาเสื่อม โรคไตเรื้อรังโรคหัวใจและหลอดเลือด บาดแผลเรื้อรัง การตัดแขนขา เป็นต้น โรคเหล่านี้ทั้งยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่ารักษาพยาบาล จากข้อมูล ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลเชิงแส โรงพยาบาลกระแสสินธุ์ พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลเชิงแส มีประชากรอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,312ราย พบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 222 ราย เพศชาย 76 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.23 เพศหญิง 146 รายคิดเป็นร้อยละ 65.77 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 501 ราย เพศชาย 189 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.72 เพศหญิง 312 ราย คิดเป็นร้อยละ 62.28 (ข้อมูล ณ วันที่ 17 ส.ค.65) สำหรับในพื้นที่หมู่ 3 ตำบลเชิงแส มีประชากรอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 459 ราย พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 86 ราย เพศชาย 30ราย คิดเป็นร้อยละ 34.88 เพศหญิง 56ราย คิดเป็นร้อยละ 65.12มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 182 ราย เพศชาย 65 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.71 เพศหญิง 117 ราย คิดเป็นร้อยละ 64.29 (ข้อมูล ณ วันที่ 17 ส.ค.65) จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีอัตราที่สูงเมื่อเทียบกับจำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย จึงเห็นสมควรที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว สาธารณสุขมูลฐาน ม.3 ตำบลเชิงแส ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแสเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พร้อมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อเป็นการลดอัตราการป่วย อัตราการตาย และภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองให้ถูกต้อง รวมถึงการส่งเสริมการมีสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองให้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. กิจกรรมติดตามผล
  4. กิจกรรมรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 459
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ขึ้นไปในเขตพื้นที่ ม.3 459

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมในการป้องกันรักษาโรค
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  3. ประชาชน กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. อัตราการป่วย อัตราการตาย และภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.อัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง 2.ร้อยละ 90 ของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 3.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80
70.00 90.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองให้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 70 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. อย่างถูกต้องและเหมาะสม
90.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 918
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 459
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ขึ้นไปในเขตพื้นที่ ม.3 459

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองให้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมติดตามผล (4) กิจกรรมรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนฤตย์วรรณ ดวงภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด