กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเชาวฤทธิ์ มีรน

ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-02-09 เลขที่ข้อตกลง 19/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L8406-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากในอดีตสตรีที่มีหน้าที่เพียงเป็นแม่บ้านดูแลบุตรหลานในครอบครัวของตนเท่านั้น แต่ในปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับแล้วว่าสตรีมีบทบาทยิ่งขึ้น ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง สตรีเริ่มมองเห็นคุณค่าของตัวเองในการเป็นสมาชิกหนึ่งในสังคมที่มีส่วนต้องรับผิดชอบสังคมเท่าเทียมบุรุษ มีความกล้าแสดงออกมากขึ้นนอกจากนี้สังคมทั่วไปก็หันมาสนใจ เปิดกว้างและยอมรับบทบาทสตรีมากขึ้น ให้ความสำคัญให้โอกาสกับสตรีได้มีโอกาสใช้ศักยภาพของตนในการร่วมกันพัฒนาท้องถิ่น พัฒนาบ้านเมือง ไม่ว่าจะเป็นสตรีในชุมชนเมือง และสตรีในชุมชนชนบท ล้วนมีความสำคัญ ต่อการพัฒนาชุมชนของตน ซึ่งเรียกว่าปัจจุบันนี้สตรีถือเป็นพลังที่สำคัญของชุมชนและที่สำคัญยิ่งกว่านั้นคือสตรีเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างครอบครัวซึ่งถือเป็นสถาบันที่มีความสำคัญยิ่งในการสร้างประเทศชาติ นอกจากสตรีจะมีหน้าที่ในการเลี้ยงดูบุตรหลานให้เจริญเติบโตเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศชาติ สตรียังมีหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการในครอบครัวของตนอีกด้วย จะเป็นว่าสตรีเป็นผู้ที่มีบทบาทในสังคมเป็นอย่างมาก ดังนั้นสมควรอย่างยิ่งที่สตรีจะต้องได้รับการดูแลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้สตรีเป็นผู้ที่มีศักยภาพ มีความพร้อม มีสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจที่ดี ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นหน่วยงานท้องถิ่นที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนมาโดยตลอด ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 (และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ.2552) องค์การบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล มีอำนาจหน้าที่ตามมาตร 67(6) ส่งเสริมการพัฒนา สตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตร 16 (10) การส่งเสริม สงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ประกอบกับในช่วงระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมามีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ส่งผลให้กลุ่มสตรีและประชาชนในพื้นที่ได้รับความเดือดร้อนและประสบภาวะยากลำบากในการดำรงชีวิตเนื่องจากไม่สามารถทำมาหากินได้อย่างปกติ บางส่วนต้องว่างงาน กระทบต่อการดำรงชีวิตประจำวันและถึงแม้ว่ารัฐบาลจะออกมาตรการเพื่อเยียวยากลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดครั้งนี้ รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งดูแลประชาชนในแต่ละท้องที่ ได้ให้การช่วยเหลือแล้ว แต่ยังพบว่ามีบางส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และบางส่วนเกินศักยภาพในการให้ความช่วยเหลือของท้องถิ่น ทำให้สตรีในท้องถิ่นมีการว่างงานเพิ่มขึ้น รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย และมีภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้สุขภาพกายและจิตย่ำแย่
องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดนได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต บทบาทและหน้าที่ของสตรีในตำบลควนโดน จึงจัดทำโครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพขึ้น เพื่อให้สตรี มีโอกาสได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นวิธีการใช้ชีวิตประจำวันที่ส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นการหลีกเลียงการปฏิบัติตนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของตนเอง และของบุคคลรอบข้างความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่สมวัย ความรู้เกี่ยวกับโรคภัยต่าง ๆ ที่มักเกิดกับสตรี ควบคู่กับการส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ลดปัญหาการว่างงานในชุมชน สร้างรายได้ลดรายจ่าย เพื่อให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น และยังเป็นการสร้างคุณค่าและเพิ่มบทบาทของผู้หญิงในสังคมให้เกิดการยอมรับมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ส่งเสริมบทบาทให้กับสตรีในสังคม
  2. ลดอัตราความเสี่ยงสตรีจะมีปัญหาสุขภาพจิต
  3. ป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไช้เจ็บที่เกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีมีบทบาทมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของสังคม
  2. สตรีมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและมีการโภชนาการที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์
  3. สร้างอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ส่งเสริมบทบาทให้กับสตรีในสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 สตรีเป็นผู้มีศักยภาพ มีความพร้อม มีสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจดี
80.00

 

2 ลดอัตราความเสี่ยงสตรีจะมีปัญหาสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 สตรีใช้เวลาว่างเพื่อมาประกอบอาชีพ และหารายได้เพิ่มให้กับครอบครัว
80.00

 

3 ป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไช้เจ็บที่เกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 สตรีมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและโภชนาการที่ถูกต้องและมีประโยชน์
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมบทบาทให้กับสตรีในสังคม (2) ลดอัตราความเสี่ยงสตรีจะมีปัญหาสุขภาพจิต (3) ป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไช้เจ็บที่เกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเชาวฤทธิ์ มีรน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด