โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบีดะ อาแวกะจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-03-01 เลขที่ข้อตกลง 05/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3038-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,466.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพของช่องปากและฟันที่ดีของลูกนั้น เป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนล้วนปรารถนา คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกครองควรที่จะต้องให้ความสนใจและดูแลเรื่องสุขภาพฟันของลูกกันตั้งแต่วัยเด็กเพื่อรอยยิ้มที่สดใสและสุขภาพฟันที่ดีของลูกน้อยให้ห่างไกลจากโรค ซึ่งหนึ่งในโรคของช่องปากที่เป็นปัญหาและพบได้บ่อยที่สุดในเด็กก็คือโรคฟันผุนั้นเอง หนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เด็กฟันผุมาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว โดยเฉพาะในปัจจุบันมักฝึกให้ลูกดื่มนมจากขวดนมแล้วปล่อยให้เด็กนอนหลับไปพร้อมกับขวดนมจงทำให้น้ำตาลที่อยู่ในน้ำนมหรือผงสามารถทำลายเคลือบฟันน้ำนมได้ รวมถึงการปล่อยให้เด็กกินขนมกรุบกรอบและขนมหวานตามใจชอบแล้วไม่ยอมแปรงฟัน ผู้ปกครองควรที่จะใส่ใจในเรื่องการแปรงฟันของลูกเป็นพิเศษ โดยควรฝึกให้เด็กแปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวันเป็นประจำทุกวันจนเป็นนิสัย หากปล่อยทิ้งไว้ปัญหาเรื้อรังก็จะตามมา ถ้าหากคุณพ่อคุณแม่ปล่อยให้ลูกฟันผุขึ้นมาแล้ว เด็กจะมีอาการปวดฟันตามมา และอาจเกิดความเจ็บปวดมากจนทำให้ไม่สามารถกินอาหารได้ตามปกติ ทำให้น้ำหนักตัวลดลง บางคนอาจถึงขั้นขาดสารอาหาร ซึ่งส่งผลต่อระดับการเจริญเติบโต พัฒนาของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า และช่องปาก รวมทั้งกระดูกขากรรไกรได้ด้วย นอกจากนี้ยังพบว่า เด็กที่มีฟันผุจะมีเชื้อโรคในช่องปากมาก เพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นตามมาผุได้เช่นกัน
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง หมู่ที่ 1 บ้านตอหลัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากของเด็กเล็ก จากครูได้สำรวจข้อมูลของเด็กที่มีปัญหาโรคฟันผุพบว่าจากเด็กทั้งหมด 71 คน และมีจำนวนเด็กที่ฟันผุทั้งหมด 64 คน คิดเป็นร้อยละ 90.14 %ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันดี ฟันสวยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพฟันดี ฟันสวย ลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดีเพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
- เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
- กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
71
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ศึกษาการเก็บรวบรวมข้อมูลทันตสุขภาพของเด็กในรอบปีที่ผ่านมา
2.ประชุมคณะครูเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
3.จัดทำโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน
4.ประสานผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย
5.มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรม
6.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- จัดเตรียมอุปกรณ์
- เชิญวิทยากรทันตกรรม ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน จากรพสต.ตำบลตอหลัง
มาให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ให้ความรู้และสาเหตุที่ทำให้เกิดฟันผุในเด็กปฐมวัย
- สาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ผู้ปกครองปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธี
7.สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค
8.ตรวจสุขภาพฟันของเด็กทุกๆสัปดาห์
9.บันทึกการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็กและรายงานให้ผู้ปกครองรับทราบเพื่อติดตามผล
10.ประกวดหนูน้อยฟันดี ฟันสวย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
3.ช่วยลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดี
71
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
100.00
2
เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
71
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
71
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง (2) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาบีดะ อาแวกะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบีดะ อาแวกะจิ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-03-01 เลขที่ข้อตกลง 05/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3038-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,466.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพของช่องปากและฟันที่ดีของลูกนั้น เป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนล้วนปรารถนา คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกครองควรที่จะต้องให้ความสนใจและดูแลเรื่องสุขภาพฟันของลูกกันตั้งแต่วัยเด็กเพื่อรอยยิ้มที่สดใสและสุขภาพฟันที่ดีของลูกน้อยให้ห่างไกลจากโรค ซึ่งหนึ่งในโรคของช่องปากที่เป็นปัญหาและพบได้บ่อยที่สุดในเด็กก็คือโรคฟันผุนั้นเอง หนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เด็กฟันผุมาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว โดยเฉพาะในปัจจุบันมักฝึกให้ลูกดื่มนมจากขวดนมแล้วปล่อยให้เด็กนอนหลับไปพร้อมกับขวดนมจงทำให้น้ำตาลที่อยู่ในน้ำนมหรือผงสามารถทำลายเคลือบฟันน้ำนมได้ รวมถึงการปล่อยให้เด็กกินขนมกรุบกรอบและขนมหวานตามใจชอบแล้วไม่ยอมแปรงฟัน ผู้ปกครองควรที่จะใส่ใจในเรื่องการแปรงฟันของลูกเป็นพิเศษ โดยควรฝึกให้เด็กแปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวันเป็นประจำทุกวันจนเป็นนิสัย หากปล่อยทิ้งไว้ปัญหาเรื้อรังก็จะตามมา ถ้าหากคุณพ่อคุณแม่ปล่อยให้ลูกฟันผุขึ้นมาแล้ว เด็กจะมีอาการปวดฟันตามมา และอาจเกิดความเจ็บปวดมากจนทำให้ไม่สามารถกินอาหารได้ตามปกติ ทำให้น้ำหนักตัวลดลง บางคนอาจถึงขั้นขาดสารอาหาร ซึ่งส่งผลต่อระดับการเจริญเติบโต พัฒนาของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า และช่องปาก รวมทั้งกระดูกขากรรไกรได้ด้วย นอกจากนี้ยังพบว่า เด็กที่มีฟันผุจะมีเชื้อโรคในช่องปากมาก เพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นตามมาผุได้เช่นกัน ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง หมู่ที่ 1 บ้านตอหลัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากของเด็กเล็ก จากครูได้สำรวจข้อมูลของเด็กที่มีปัญหาโรคฟันผุพบว่าจากเด็กทั้งหมด 71 คน และมีจำนวนเด็กที่ฟันผุทั้งหมด 64 คน คิดเป็นร้อยละ 90.14 %ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันดี ฟันสวยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพฟันดี ฟันสวย ลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดีเพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
- เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
- กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 71 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ศึกษาการเก็บรวบรวมข้อมูลทันตสุขภาพของเด็กในรอบปีที่ผ่านมา
2.ประชุมคณะครูเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
3.จัดทำโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน
4.ประสานผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย
5.มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรม
6.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- จัดเตรียมอุปกรณ์
- เชิญวิทยากรทันตกรรม ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน จากรพสต.ตำบลตอหลัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีทัศนคติที่ดี มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี 3.ช่วยลดการเกิดปัญหาโรคฟันผุในเด็กได้เป็นอย่างดี
|
71 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 71 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 71 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง (2) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและฝึกทักษะให้ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันและทำความสะอาดช่องปากให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงกหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตอหลัง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาบีดะ อาแวกะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......