กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด


“ โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมนัส ศรีบุญเอียด

ชื่อโครงการ โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3004-01-15 เลขที่ข้อตกลง 65-L3004-01-15

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3004-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ปีหนึ่งมีคนไทยเสียชีวิต ด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด ปีละ  4,500 ราย โดยมีอัตราตายเป็นอับดับ 2 รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือดและยังมีแนวโน้มที่สูงขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง 8 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน  แต่ละปีจะมีผู้หญิงป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละประมาณ 10,000 ราย หรือวันละ 27 ราย เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 5,200 ราย หรือวันละ 14 ราย โดยกลุ่มที่พบสูงสุดคืออายุ 45-55 ปี องค์การอนามัยโลกประมาณการณ์ว่า ขณะนี้ทั่วโลกในทุก 2 นาทีจะมีผู้หญิงเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก 1 รายและจากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าสตรีไทยมีแนวโน้มการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกสูงขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก 3 ต่อแสนประชากร และเพิ่มเป็น 3.1 ต่อแสนประชากรในปี 2563 ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ 4,500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30-50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear และหากทำทุก 2 ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ 92 % ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติ ที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear สตรีที่เป็นมะเร็งส่วนใหญ่มักจะมี สถานะทางเศรษฐกิจต่ำ มีความรู้น้อย มีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ ความรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ ปัญหาในการมาตรวจ ความอาย ความรู้สึกเจ็บไม่สบาย ความวิตกกังวลถึงผลการตรวจและความรุนแรงของโรค (สริตา, 2538)
สำหรับสถานการณ์โรคมะเร็งของจังหวัดปัตตานี  ส่วนโรคมะเร็งปากมดลูกของจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 – 2563 พบว่า มีอัตราป่วย 59.10 และ 60.15 ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 35-60 ปี ของตำบลปะโด พบว่ากลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก  ปี 2563 ร้อยละ 34.65 (โปรแกรมHosXP_PCU รพ.สต.ปะโด มกราคม 2563) ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขที่ได้กำหนด ในปี 2563 ตำบลปะโดได้จัดทำโครงการรณรงค์ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุกทุกรูปแบบในกลุ่มเป้าหมาย ทำให้มีผู้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก คิดเป็นร้อยละ 7.68 ซึ่งถือว่ามีปริมาณที่น้อยอยู่และต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำกำหนด การให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่องร่วมกับการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง จะทำให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในความรุนแรงของโรคและมีความเชื่อด้านสุขภาพที่ถูกต้องดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด จึงได้จัดทำ “โครงการ หญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565”เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกแบบยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมสตรีที่มีอายุ 30 – 60 ปี จำนวน 130 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการบริการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตามเกณฑ์มาตรฐาน
      2.สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไปสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง เดือนละ 1 ครั้ง       3.จำนวนผู้ป่วยที่ค้นพบเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ได้รับการรักษาพยาบาลในระยะขั้นแรก ของการเป็นโรคมะเร็ง       4.ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของภาครัฐ
      5.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก       6. ลดอัตราการตายโดยสาเหตุจากโรคมะเร็งปากมดลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมสตรีที่มีอายุ 30 – 60 ปี            จำนวน  130  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหญิงเจริญพันธ์ตำบลปะโด ร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3004-01-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนัส ศรีบุญเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด