กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565 ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพิศ แสงจันทร์

ชื่อโครงการ ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2565 ถึง 23 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3332-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2565 - 23 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน และมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวางโดยพบผู้ป่วยทุกจังหวัดทุกภาคของประเทศ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกพบได้ทุกกลุ่มอายุซึ่งปัญหานี้ไม่อาจแก้ไขได้ด้วยหน่วยงานใดหน่วยงานเดียวเพราะเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนมีความพยายามที่จะหาแนวทางเพื่อควบคุมลูกน้ำกำจัดยุงตัวแก่ทั้งในวิธีกายภาพชีวภาพและเคมีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นนโยบายสำคัญ ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง รวดเร็ว การร่วมมือกันของชุมชน ภาคีเครือข่ายต่างๆต้องหันหน้ามาร่วมกันคิดร่วมกันทำ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้การควบคุมโรคไข้เลือดออก ต้องสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน การส่งเสริมบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาโดยใช้ทรัพยากรที่มีในพื้นที่สอดคล้องกับความต้องการ และสนับสนุนกิจกรรมของในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างสม่ำเสมอ หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน และมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวางโดยพบผู้ป่วยทุกจังหวัดทุกภาคของประเทศ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกพบได้ทุกกลุ่มอายุซึ่งปัญหานี้ไม่อาจแก้ไขได้ด้วยหน่วยงานใดหน่วยงานเดียวเพราะเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนมีความพยายามที่จะหาแนวทางเพื่อควบคุมลูกน้ำกำจัดยุงตัวแก่ทั้งในวิธีกายภาพชีวภาพและเคมีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นนโยบายสำคัญ ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง รวดเร็ว การร่วมมือกันของชุมชน ภาคีเครือข่ายต่างๆต้องหันหน้ามาร่วมกันคิดร่วมกันทำ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้การควบคุมโรคไข้เลือดออก ต้องสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน การส่งเสริมบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาโดยใช้ทรัพยากรที่มีในพื้นที่สอดคล้องกับความต้องการ และสนับสนุนกิจกรรมของในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างสม่ำเสมอ ด้านการเกิดโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน 3 ปีย้อนหลังพบว่า ปี 2562 มีผู้ป่วย 2 ราย ปี 2563 มีผู้ป่วย 1 ราย และปี 2564 มีผู้ป่วย 2 ราย (ที่มา:งานระบาดวิทยา สสอ.บางแก้ว)ซึ่งจะเห็นว่ายังมีการเกิดโรคไข้เลือดออกทุกปีต่อเนื่องดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียนได้ผลดีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ของคณะกรรมการและภาคีเครือข่ายต่างๆ ตลอดจนการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการเกิดโรคและควบคุมการเกิดโรคหลังพบผู้ป่วยจึงมีความสำคัญในการลดการเกิดโรคไข้เลือดออกของชุมชน จึงจัดโครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565 (ต่อเนื่องจากปีที่แล้ว)ขึ้น เพื่อให้คณะกรรมการภาคีเครือข่ายต่างๆและชุมชน มีการประชุมวางแผนการดำเนินงาน การสรุปผลงานที่ได้ดำเนินการเพื่อให้การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ และดำเนินงานจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้เพียงพอและเหมาะสมกับชุมชน ทั้งนี้เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของครัวเรือนและชุมชน
  2. ลดการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน
  3. เครือข่ายในชุมชนมีการประชุมวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเครือข่ายควบคุมป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออกก่อนดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานหลังดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จ
  2. ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นเมื่อเกิดผู้ป่วยสงสัยและผู้ป่วยยืนยัน
  3. รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ยุงลาย 3 หมู่บ้าน เดือนละครั้ง โดยอสม จนท.และ จิตอาสา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เครื่อข่ายควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก มีการประชุมวางแผนก่อนดำเนินงาน และประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมการควบคุมโรคไข้เลือดออกชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรค ตลอดจนมีวัสดุอุปกรณ์ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ซึ่งจะส่งผลให้ผลให้การเกิดโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียนลดลงต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของครัวเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 ลดการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง
0.00

 

3 เครือข่ายในชุมชนมีการประชุมวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : เครือข่ายเข้าประชุมวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของครัวเรือนและชุมชน (2) ลดการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน (3) เครือข่ายในชุมชนมีการประชุมวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเครือข่ายควบคุมป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออกก่อนดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานหลังดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จ (2) ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นเมื่อเกิดผู้ป่วยสงสัยและผู้ป่วยยืนยัน (3) รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ยุงลาย  3 หมู่บ้าน เดือนละครั้ง โดยอสม จนท.และ  จิตอาสา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ร่วมมือร่วมใจป้องกันควบคุมภัยโรคเลือดออกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะเคียน ปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพิศ แสงจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด