กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูกีเย๊าะ ไพเราะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8411-02-25 เลขที่ข้อตกลง 23/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L8411-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ชุมชนบ้าน กม.26 ใน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี 2560 - 2563 (16 ราย) แต่ไม่มีผู้ป่วยตายด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่ในบ้านกม.26 ใน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จะเห็นได้ว่า การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม – ตุลาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนพอดีและชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ปัจจุบันถึงแม้ว่า ชุมชนบ้าน กม.26 ใน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ถึงแม้ในปี 2564 ไม่พบผู้ป่วย แต่พื้นที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง ชุมชนบ้านกม.26 ใน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านกม.26 ใน
  2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการ ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน ศาสนสถานต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ณรงค์ ต้านภัยไข้เลือดออก ขอความร่วมมือประชาชนให้เข้าร่วมกิจกรรมดำเนินงานควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนการเฝ้าระวังและป้องกันโรคล่วงหน้า ได้แก่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จัดกิจกรรมรนณรงค์ การแจกจ่ายทรายเคมีกำจัดลูกน้ำย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 231
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนในหมู่บ้านกม.26 ใน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก โดยมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
2 ค่า HI < 10 และ CI ค่า = 0 3 มีการบูรณาการ ประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่ายสุขภาพ องค์กรในชุมชน ในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ณรงค์ ต้านภัยไข้เลือดออก ขอความร่วมมือประชาชนให้เข้าร่วมกิจกรรมดำเนินงานควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนการเฝ้าระวังและป้องกันโรคล่วงหน้า ได้แก่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จัดกิจกรรมรนณรงค์ การแจกจ่ายทรายเคมีกำจัดลูกน้ำย

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง จัดทำและเสนอขออนุมัติโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ภาคีเครือข่าย เช่น อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน และกลุ่มองค์กรต่างๆ
  3. จัดเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์
  4. จัดกิจกรรรนณรงค์ ต้านภัยไข้เลือดออก ขอความร่วมมือประชาชนให้เข้าร่วมกิจกรรมดำเนินงานควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนการเฝ้าระวังและป้องกันโรคล่วงหน้า ได้แก่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จัดกิจกรรมรนณรงค์ การแจกจ่ายทรายเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย พ่นหมอกควันหรือสารเคมีกำจัดยุงลายในหมู่บ้าน ชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  5. สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน เพื่อหาค่า CI
  6. สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในเขตพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านโดย อสม. เพื่อหาค่า HI
  7. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียนและชุมชนทุกวันศุกร์
  8. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ
  9. สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลหลังสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ประชาชนในหมู่บ้านกม.26 ใน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก โดยมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
2 ค่า HI < 10 และ CI  ค่า = 0 3 มีการบูรณาการ ประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่ายสุขภาพ องค์กรในชุมชน ในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก

 

231 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านกม.26 ใน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการ ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน ศาสนสถานต่างๆ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 231
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 231
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านกม.26 ใน (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการ ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน ศาสนสถานต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ณรงค์ ต้านภัยไข้เลือดออก ขอความร่วมมือประชาชนให้เข้าร่วมกิจกรรมดำเนินงานควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนการเฝ้าระวังและป้องกันโรคล่วงหน้า ได้แก่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จัดกิจกรรมรนณรงค์ การแจกจ่ายทรายเคมีกำจัดลูกน้ำย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันบ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย บ้านกม.26ใน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8411-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรูกีเย๊าะ ไพเราะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด